Page 28 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 28

15-18 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ

ในโ​ลกาภ​ ิว​ ัตน​ ์ท​ ี่ม​ ุ่งเ​น้นก​ ารป​ กครองร​ ะบอบป​ ระชาธิปไตยท​ ำ�ให้ป​ ระเทศส​ ่วนใ​หญ่ม​ ีแ​ นวโ​น้มท​ ี่จ​ ะม​ ีก​ ารป​ กครองร​ ะบอบ​
ประช​ าธิป​ไตยโ​ดยส​ ันติ​วิธีม​ ากข​ ึ้น ดัง​จะเ​ห็น​ได้​จากก​ าร​ปฏิรูปก​ ารเมืองท​ ั้งใ​น​ประเทศเ​กาหลีใต้ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์
และ​ประเทศไทย เป็นต้น ขบวนการ​ปลด​ปล่อย​แห่ง​ชาติ​จึง​มี​บทบาท​เฉพาะ​ใน​ประเทศ​ที่​ยัง​คง​มี​การ​ปกครอง​แบบ​
เผด็จการ​โดยส​ ่วนใ​หญ่ เช่น พม่า ลาว อัฟกานิสถาน เป็นต้น แต่ก​ ารด​ ำ�เนิน​การย​ ังไ​ม่บ​ รรลุผ​ ลเ​ท่าท​ ี่ค​ วร เป็นท​ ี่น​ ่าส​ ังเกต​
ว่าค​ วามส​ ำ�เรจ็ ข​ องข​ บวนการป​ ลดป​ ลอ่ ยแ​ หง่ ช​ าตภิ​ ายห​ ลังส​ งครามเ​ย็นม​ คี​ วามส​ มั พันธก์​ ับบ​ ทบาทใ​นก​ ารใ​หก้​ าร​ สน​ บั ส​ นุน
การ​ปฏิเสธ หรือ​การ​เพิก​เฉย​ของ​ประเทศ​มหาอำ�นาจ​โดย​เฉพาะ​สหรัฐอเมริกา เช่น พม่า เป็นต้น และ​ใน​หลาย​กรณี​ที่​
สหรัฐอเมริกาเ​ป็น​ประเทศ​ที่ด​ ำ�เนิน​การเ​พื่อ​โค่น​ล้มผ​ ู้ป​ กครองท​ ี่เ​ป็น​เผด็จการ​เอง ​เช่น อัฟกานิสถาน และอ​ ิรัก เป็นต้น
และ​ผลัก​ดัน​ให้​ขบวนการ​ปลด​ปล่อย​แห่ง​ชาติ​และ​ผู้นำ�​ของ​ขบวนการ​เหล่า​นี้​ซึ่ง​เป็น​ที่ย​ อมรับ เข้าปก​ครอง​สืบทอด​หรือ​
เป็นต​ ัวแทนข​ อง​สหรัฐอเมริกา​แทน เป็นต้น

       ประเภท​ที่​สาม ขบวนการ​ปลด​ปล่อย​แห่ง​ชาติ​ที่​ต่อ​ต้าน​ประเทศ​ผู้​ปกครอง​อาณานิคม ขบวนการ​ปลด​ปล่อย​
แห่ง​ชาติ​ใน​กรณี​นี้​มี​บทบาท​ลด​ลง​ใน​ปัจจุบัน เพราะ​ดิน​แดน​ส่วน​ใหญ่​ไดัรับ​เอกราช​เกือบ​หมด​แล้ว ทำ�ให้​ขบวนการ​
ปลดป​ ล่อยแ​ ห่งช​ าติเ​กือบ​ไม่ห​ ลง​เหลือใ​น​ปัจจุบัน ทำ�ให้ไ​ม่มีบ​ ทบาทใ​นป​ ัจจุบัน

2. 	ขบวนการก​ อ่ การ​ร้าย (Terrorism)28

       ขบวนการก​ ่อการร​ ้าย ​คือ​ กลุ่ม​บุคคลท​ ี่​มีค​ วามค​ ิดเ​ห็นห​ รืออ​ ุดมการณ์​ทางการ​เมือง​เดียวกัน จัดต​ ั้ง​เป็นก​ลุ่ม​
หรือ​องค์การ​เพื่อ​ดำ�เนิน​การ​หรือ​กระทำ�​การ​โดย​การ​ใช้​ความ​รุนแรง​เพื่อ​ให้​บรรลุ​ถึง​วัตถุประสงค์​ที่​กำ�หนด การ​ก่อการ​
ร้าย​จึง​เป็นการ​กระทำ�​ที่​ปราศจาก​ความ​ชอบ​ธรรม​และ​การ​ยอมรับ​ระหว่าง​ประเทศ เป็นการ​กระทำ�​ที่​ได้​รับ​การ​ต่อ​ต้าน​
จากป​ ระเทศ​หลายป​ ระเทศ ผู้​กระทำ�​การใ​น​ก่อการร​ ้ายแ​ บ่ง​ออก​เป็น 2 ประเภท คือ กลุ่ม​หรือข​ บวนการ​ในก​ าร​ก่อการ​
ร้าย กับ​รัฐ​ที่​ก่อการ​ร้าย (State Terrorism) หรือร​ ัฐ​ที่ใ​ห้การส​ นับสนุนก​ ารก​ ่อการร​ ้าย

       วัตถุประสงค์​ของ​ขบวนการ​ก่อการ​ร้าย​มี​หลาย​ประการที่​สำ�คัญ​คือ การ​ได้​รับ​เอกราช​ทางการ​เมือง การ​
เปลี่ยนแปลง​โครงสร้าง​ทาง​เศรษฐกิจ​และ​สังคม การ​ดำ�รง​อยู่​ของ​โครงสร้าง​ทาง​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แบบ​ดั้งเดิม
เป็นต้น

       ลักษณะ​สำ�คัญ​ของ​ขบวนการ​ก่อการ​ร้าย ประการ​แรก การ​ก่อการ​ร้าย​เป็นการ​กระทำ�​หรือ​การ​ดำ�เนิน​การ​ที่​มี​
วัตถุประสงคเ์​พื่อส​ ร้างค​ วามห​ วาดก​ ลัว การต​ ื่นต​ ระหนก ความเ​สียห​ าย และก​ ารส​ ูญเ​สียช​ ีวิตต​ ่อเ​ป้าห​ มาย29 ท​ ี่ส​ ่วนใ​หญ​่
มักเ​ป็นร​ ัฐบาลข​ องป​ ระเทศท​ ีเ่​ป็นเ​ป้าห​ มาย ประการท​ ีส่​ อง มขี​ อบเขตค​ วามร​ ุนแรงท​ ีก่​ ว้างข​ วางแ​ ละป​ ระเมินค​ วามเ​สียห​ าย​
มิได้ โดยเ​ฉพาะ​จิตใจข​ องผ​ ู้ส​ ูญ​เสีย ประการท​ ี่​สาม การด​ ำ�เนินก​ ารม​ ีก​ ารจ​ ัด​วางอ​ ย่างเ​ป็นร​ ะบบเ​พื่อ​บรรลุ​วัตถุประสงค​์
ทางการเ​มือง ประการท​ ีส่​ ี่ เป็นป​ ฏิบัตกิ​ ารท​ ีอ่​ ยูน่​ อกเ​หนือส​ งครามป​ กตแิ​ ตเ่​ป็นการป​ ฏิบัตกิ​ ารเ​พื่อส​ นองต​ อบค​ วามข​ ัดแ​ ย้ง​
ดว้ ยว​ ธิ ก​ี ารห​ รอื ก​ ารต​ อบโตแ​้ บบด​ ัง้ เดมิ บ​ นพ​ ืน้ ฐ​ านข​ องค​ วามท​ นั ส​ มยั แ​ ละค​ วามส​ ลบั ซ​ บั ซ​ อ้ นข​ องเ​ทคโนโลยแ​ี ละว​ ทิ ยาการ​
สมัย​ใหม่30 เช่น การ​จี้​เครื่องบ​ ิน เป็นต้น ประการท​ ี่​ห้า การใ​ช้​อุดมการณ์ ลัทธิ ความ​เชื่อ ศาสนา เป็นเ​ครื่อง​มือใ​น​การ​
รวมก​ ลุ่ม ประการท​ ี่ห​ ก การป​ ฏิเสธ​การด​ ำ�รงอ​ ยู่ข​ อง​หลักศ​ ีลธ​ รรม หรือ​หลักส​ ากล หรือ​หลักส​ ิทธิ​มนุษย​ชน หรือ​อื่นใ​ด
ที่​เป็นการย​ ับยั้ง​การป​ ฏิบัติ​การ​ที่​รุนแรง

         28 ธโส​ธร ตู้​ทองคำ� อ้างแ​ ล้ว หน้า 14-8 ถึง 14-11 และ 14–13 ถึง 14-15
         29 Gianfranco Posquito. “Terrorism.” The Social Science Encyclopedia London and New York: Routledge 1996
p. 872-873.	
         30 Ashton B. carter and William J. Perry Preventive Defense: A New Security Strategy for America Washington
D.C. : Brooking Institution Press 1999, p. 149.
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33