Page 30 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 30
15-20 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ
ความเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญในขบวนการก่อการร้ายระหว่างประเทศคือ การที่รัฐมีบทบาทในการดำ�เนินการ
สนับสนุนการก่อการร ้าย (State-Support Terrorism) ด้วยการให้การสนับสนุนด้านใดด ้านหนึ่ง เช่น การส นับสนุน
ทางการเงนิ การฝกึ อบรม การใหท้ พ่ี กั พ งิ การห ลบหนี เป็นตน้ ตวั อยา่ งเชน่ สหรฐั อเมรกิ าแ ละประเทศในย โุ รปตะวนั ตก
กล่าวหาว่าลิเบีย ซีเรีย และอิหร่านต ่างให้การส นับสนุนการก่อการร ้าย ทำ�ให้หลายประเทศรณรงค์ให้ประเทศต่าง ๆ
ลงโทษซีเรีย ทำ�ให้ซีเรียต้องมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายสาธารณะ จากเดิมที่เกี่ยวข้องกับการก่อการร้าย 34 ครั้งใน
ค.ศ. 1985 เป็น 6 ครั้ง ใน ค.ศ. 1986 และ 1 ครั้ง ใน ค.ศ. 198733 เป็นต้น ผลที่ต ามม าทำ�ให้ประเทศห ลายประเทศม ี
การเปลี่ยนแปลงน โยบายจากการสนับสนุนการก ่อการร ้ายม าเป็นการเจรจาเพื่อสันติภาพ เป็นต้น
เป็นที่น่าสังเกตว่าขบวนการก่อการร้ายมีอยู่ในทุกทวีปและหลายประเทศทั่วโลก ในทวีปยุโรป ตัวอย่างเช่น
เยอรมนมี ีก ลุ่มบ าแ ดร์ ไมน์ฮอฟ (Baader-Meinhof) ไอร์แลนด์ม ีก องทัพส าธารณรัฐไอริช (Irish Republican Army:
IRA) ตุรกมี ขี บวนการห มาป่าส เีทา (Gray Wolves หรือ Bozkurtlar) เป็นต้น ในท วีปอ เมริกาใต้ ตัวอย่างเช่น เปรมู กี ลุ่ม
เซนเดโร ลูม ิโนโซ (Sendero Luminoso) อุรุกวัยมีก ลุ่มตูป าโมโรส (Tupamoros) เอลซัลวาดอร์มีก ลุ่มห ลายกลุ่มท ั้ง
ฝ่ายข วาและฝ ่ายซ ้าย เป็นต้น ในทวีปเอเชีย ตัวอย่างเช่น ญี่ปุ่นม ีก องทัพแดง (Red Army) อินเดียม ีก ลุ่มก ่อการร ้าย
ชาวซ ิกข์ ศรีล ังกาม ีก ลุ่มพ ยัคฆ์ท มิฬอ ีแ ลม (Liberation Tigers of Tamil Eelam) ในต ะวันออกกลางม ีข บวนการป ลด
ปล่อยป าเลสไตน์ (Palestine Liberation Organization: PLO) องค์ก ารจ ิฮัดอิสลาม (Islamic Jihad Organiza-
tion) เป็นต้น34 และก ลุ่มเหล่าน ี้โยงใยเป็นเครือข ่ายจนมีค วามส ลับซับซ ้อนเป็นอย่างมาก ทำ�ให้ก ารปฏิบัติด ำ�เนินการ
ในระยะหลังเป็นไปอย่างมีป ระสิทธิภาพ และมีแ นวโน้มที่ร ุนแรงเพิ่มม ากข ึ้น
การปฏิบัติการของขบวนการก ่อการร้ายที่มีแนวโน้มจะรุนแรงแ ละเป็นวงกว้างมากขึ้น ทำ�ให้รัฐบาลในหลาย
ประเทศต่างให้ความสำ�คัญกับการแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง ความพยายามที่สำ�คัญ คือ การจัดการประชุมที่ให้ความ
สำ�คัญกับการต่อต้านก ารก่อการร้ายระหว่างประเทศ การท ี่ประเทศแ ต่ละประเทศจ ัดสร้างหน่วยป ฏิบัติก ารเฉพาะกิจ
ที่ประกอบด้วยทหารที่ทำ�การฝึกซ้อมเป็นพิเศษเพื่อปราบปรามขบวนการก่อการร้าย เช่น หน่วย Group Nine ของ
เยอรมนีตะวันตก หน่วย Special Air Service ของอ ังกฤษ หน่วย Delta Team ของสหรัฐอเมริกา เป็นต้น การเพิ่ม
มาตรการรักษาความปลอดภัยท่าอากาศยาน ความร่วมมือทางด้านข่าวกรองระหว่างประเทศด้วยการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลร ะหว่างก ัน35 แต่กระนั้นค วามร ุนแรงข องก ารก ่อการร ้ายย ังค งเกิดข ึ้น โดยเฉพาะเหตุการณ์ว ันท ี่ 11 กันยายน
ค.ศ. 2001 เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงท ี่มาจากโลกาภ ิวัตน์ที่ความข ัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ท างการเมืองลดความส ำ�คัญล ง แต่
ความขัดแย้งทางด้านอื่นปรากฏอย่างเด่นชัด ที่สำ�คัญคือ การปรากฏตัวของขบวนการก่อการร้ายที่มีบทบาทสำ�คัญ
ในการปฏิบัติการก่อความไม่สงบขึ้นหลายแห่งในโลก เป้าหมายคือ ประเทศตะวันตกโดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาและ
ประเทศพ ันธมิตร ที่ส ำ�คัญค ือ อ ิสราเอลแ ละป ระเทศท ี่ให้การส นับสนุน รวมท ั้งประเทศในตะวันออกกลางท ี่มีนโยบาย
เป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกา เช่น ซาอุดิอาระเบีย เป็นต้น ขบวนการก ่อการร ้ายท ี่มีบ ทบาทสำ�คัญ ได้แก่ ขบวนการ
ฮิซ บัลเลาะห์ ขบวนการฮ าม าส และข บวนการอัลก ออิดะ
ขบวนการฮิซบัลเลาะห์ (Hezbollah หรือ Party of God) เป็นขบวนการของชาวมุสลิมชิอะฮ์หัวรุนแรงใน
เลบานอน วัตถุประสงค์คือการสถาปนารัฐอิสลามที่เลบานอนตามแบบอิหร่าน ทำ�ให้นานาประเทศมองว่าอิหร่าน
ให้การสนับสนุน การกำ�จัดอิทธิพลของประเทศมหาอำ�นาจตะวันตกออกจากตะวันออกกลาง การต่อต้านตะวันตก
และป ระเทศพ นั ธมติ รอ ยา่ งรนุ แรง วธิ กี ารค อื การป ฏบิ ตั กิ ารอ ยา่ งร นุ แรง เชน่ ระเบดิ พลชี พี ท�ำ ใหม้ กี ารป ฏบิ ตั กิ ารทร่ี นุ แรง
33 เพิ่งอ้าง หน้า 206-207
34 เพิ่งอ้าง หน้า 207
35 เพิ่งอ ้าง หน้าเดียวกัน