Page 29 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 29
องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-19
มุมม องท ี่ม ีต ่อข บวนการก ่อการร ้ายจ ึงเป็นท ั้งก ลุ่มบ ุคคลท ี่เป็นข บวนการท ี่ป ฏิบัตกิ ารโดยม เีป้าห มายท ี่ร ัฐบาล
ของค ูก่ รณี เช่น การป ฏิบัตกิ ารข องข บวนการในป ระเทศฝ รั่งเศสภ ายห ลังก ารป ฏิวัตใิหญ่ ใน ค.ศ. 1789-1794 ทีเ่ป็นการ
ข่มขู่และคุกคามต่อรัฐบาล เป็นต้น และเป็นนโยบายเพื่อล้มล้างสถาบันใดสถาบันหนึ่งหรืออื่นใด ด้วยวิธีการข่มขู่
คุกคามจนก ่อให้เกิดความน่าส ะพ รึงกลัว31
ประเภทข องขบวนการก่อการร ้ายแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ประเภทแรก ขบวนการก่อการร้ายที่จำ�กัดขอบเขตภายในรัฐหรือภายในประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
เป็นการล ้มล้างร ัฐบาลห รืออ ื่นใด เช่น การแ ยกประเทศ
ประเภทที่สอง ขบวนการก่อการร้ายที่มีขอบเขตการปฏิบัติการแบบไม่จำ�กัดขอบเขต เป็นการปฏิบัติการที่
ข้ามพรมแดนข องรัฐหรือก ารมีท ี่ตั้งอ ยู่ในป ระเทศหนึ่ง แต่การป ฏิบัติการจ ะมีทั้งภ ายในแ ละภายนอกป ระเทศน ั้นด ้วย
หรือมุ่งเน้นภายนอกประเทศมากกว่า ในที่นี้ขอก ล่าวเฉพาะประเภทที่สอง คือ ขบวนการก่อการร้ายท ี่ไม่จำ�กัดขอบเขต
การปฏิบัติการ
เป้าหมายของการปฏิบัติการของขวนการก่อการร้ายเป็นทั้งบุคคลสาธารณะและวัตถุที่เป็นสาธารณะ เช่น
ประธานาธิบดี นายกร ัฐมนตรี ที่ทำ�การป ระธานาธิบดี ที่ทำ�การนายกร ัฐมนตรี หรือบุคคลแ ละว ัตถุท ี่เป็นเอกชน เช่น
ประธานบ ริษัท เครื่องบินข องส ายการบินเอกชน เป็นต้น หรือประชาชนท ั่วไป ที่ม ีผลต ่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
เศรษฐกิจ สังคม ในวงกว้าง เช่น การเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างป ระเทศของประเทศม หาอำ�นาจ เป็นต้น
วิธีการปฏิบัติก ารของขบวนการก่อการร้ายแ บ่งออกเป็น 2 แบบ คือ วิธีก ารส ันติวิธี เช่น การโจรกรรมข้อมูล
ทางคอมพิวเตอร์ การย ุยงปลุกปั่น การเผยแ พร่อุดมการณ์ท ี่สำ�คัญ คือ ลัทธินาซี เป็นต้น และก ารใช้ความรุนแรง เช่น
การลักพาตัว การจับเป็นต ัวประกัน การข่มขู่ การค ุกคาม การโจมตี การว างร ะเบิด การลอบสังหาร เป็นต้น วิธีก ารใช้
ความรุนแรงจึงถือเป็นเครื่องมือที่สำ�คัญยิ่งในการดำ�เนินการของขบวนการ การดำ�เนินการของขบวนการก่อการร้าย
เป็นปัญหาที่สำ�คัญของรัฐบาลในทุกประเทศ แม้จะมีการปรับปรุงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงกลาโหม
สภาคว ามม ั่นคงแ ห่งช าติ สำ�นักข ่าวกรอง หน่วยปฏิบัติการลับ และเทคโนโลยีที่ทันส มัย แต่ม ักไม่สามารถป ้องกันการ
ปฏิบัติการของข บวนการที่คาดเดาได้ย ากลำ�บากเป็นอ ย่างม าก
บทบาทของขบวนการก่อการร้ายมีมาตั้งแต่สมัยโบราณ และมีการปฏิบัติการอย่างต่อเนื่องและรุนแรง
หลายค รั้งในข อบเขตท ี่ก ว้างข วางในป ระเทศห ลายป ระเทศ เช่น การป ฏิบัติก ารข องก ลุ่มฝ ่ายข วาแ ละก ลุ่มฝ ่ายซ ้ายด ้วย
การใชห้ นว่ ยล า่ ส งั หารท �ำ การส งั หารผ ูน้ �ำ ฝา่ ยต รงข า้ มเพือ่ ก อ่ การป ฏวิ ตั แิ ละท �ำ ลายโครงสรา้ งท างการเมอื ง เศรษฐกจิ และ
สังคม ในเอลซัลวาดอร์และเลบานอน ในท ศวรรษท ี่ 1970 และ 1980 การโจมตีส ถานทูตสหรัฐอเมริกาและที่พักข อง
หน่วยนาวิกโยธินส หรัฐอเมริกาด ้วยหน่วยพลีช ีพท ี่ข ับร ถบ รรทุกดินระเบิดเต็มค ัน ที่ก รุงเบรุต เลบานอน ของอ งค์การ
จีฮัดอิสลาม (Islamic Jihad) ใน ค.ศ. 1983 การฆ าตกรรมชายสูงอ ายุชาวอ เมริกันภ ายห ลังก ารจ ับเป็นตัวป ระกันใน
เรือโดยส าร อากิลเล เลาโร (Achille Lauro) ใน ค.ศ. 1985 ของก ลุ่มอ าบู อับบ าส (Abu Abbas) การล อบว างร ะเบิดส าย
การบินแ พนแ อม เที่ยวบ ิน 103 เหนือเมืองล อคเคอร์บี สก๊อตแลนด์ ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1988 การร ะเบิดเครื่องบ ิน
หลายค รั้งในร อบ 20 ปโีดยข บวนการก ่อการร ้าย ความพ ยายามเหล่าน ีน้ อกจากจ ะม ผี ลต ่อเป้าห มายแ ละว ัตถุประสงคท์ ี่
กำ�หนดแ ล้วยังม ีผ ลท างจ ิตวิทยาต่อร ัฐบาลและประชาชนของป ระเทศที่ได้ร ับผ ล โดยเฉพาะส หรัฐอเมริกาและประเทศ
ในยุโรปตะวันต ก เป็นต้น32
31 Lessie C. Green. “Terrorism-The Canadian Perspective.” International Terrorism, National, Regional, and Global
Perspectives. New York: Praeger Publishers Inc., 1976 p. 3.
32 สมพงศ์ ชูมาก ความสัมพันธ์ร ะหว่างป ระเทศย ุคปัจจุบัน (ทศวรรษ 1990 และแ นวโน้ม) กรุงเทพมหานคร สำ�นักพ ิมพ์จ ุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย 2542 หน้า 206