Page 27 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 27

องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-17

       วิธีก​ ารข​ องข​ บวนการป​ ลดป​ ล่อยแ​ ห่งช​ าติแ​ บ่งอ​ อกเ​ป็น 2 วิธีก​ าร คือ สันติว​ ิธี เช่น ขบว​ นก​ ารค​ ว​ ิเบกใ​นแ​ คนาดา​
ที่​ต้องการ​แยก​ออก​จาก​แคนาดา​เพราะ​ประชาชน​ของ​แคว้น​ค​วิเบก​ส่วน​ใหญ่​เป็น​คน​เชื้อ​สาย​ฝรั่งเศส แตก​ต่าง​จาก​ชาว​
แคนาดา​ส่วน​ใหญ่ท​ ี่เ​ป็นอ​ ังกฤษ เป็นต้น กับก​ าร​ใช้ค​ วาม​รุนแรง เช่น ขบวนการ​ชาวบ​ าส​ ก์ (Basques) ในส​ เปน เป็นส​ ่วน​
หนึ่ง​ที่เ​ป็น​สาเหตุ​ของส​ งครามกลางเมือง เป็นต้น

       ประเภท​ของข​ บวนการป​ ลด​ปล่อย​แห่ง​ชาติ แบ่งอ​ อก​เป็น 3 ประเภท27 ได้แก่
       ประเภทแ​ รก  ขบวนการท​ ีม่ าจ​ ากก​ ลุม่ ช​ นชาตหิ​ รือเ​ชื้อช​ าตทิ​ ีพ่​ ยายามแ​ ยกต​ วั อ​ อกจ​ ากก​ ารป​ กครองแ​ บบเ​ดมิ เ​พื่อ​
การ​จัด​ตั้ง​รัฐ​ชาติ (Nation-State) หรือ​ประเทศ​ใหม่ ตัวอย่างเช่น ขบวนการ​แบ่ง​แยก​ดิน​แดน​ของ​ชาว​บา​สก์​ใน​สเปน
ขบ​วน​การไ​บอ​ าฟ​รา (Biafra) ใน​ไนจีเรีย ขบวนการแ​ บ่ง​แยกด​ ิน​แดนข​ องช​ าว​คว​ ิเบกใ​นแ​ คนาดา เป็นต้น
       ประเภท​ที่​สอง ขบวนการ​ปลด​ปล่อย​แห่ง​ชาติ​ที่​มี​วัตถุประสงค์​หรือ​ความ​ต้องการ​ล้ม​ล้าง​รัฐบาล เพราะ​
เป็น​รัฐบาล​ที่​ขาด​ความ​ชอบ​ธรรม​หรือ​มี​การ​ปกครอง​แบบ​เผด็จการ​หรือ​การ​ตก​อยู่​ภาย​ใต้​อิทธิพล​ของ​ต่าง​ประเทศ
วัตถุประสงค์​ของ​ขบวนการ​ปลด​ปล่อย​แห่ง​ชาติ​คือ ความ​ต้องการ​เปลี่ยนแปลง​ทางการ​เมือง​ด้วย​การ​มี​รัฐบาล​ใหม่​
มากกว่าก​ าร​เปลี่ยนแปลงท​ างการเ​มืองด​ ้วยก​ าร​แยก​ประเทศ ตัวอย่างเ​ช่น ขบวนการซ​ านด​ ินิส​ ต​ า (Sandinista) ของ​
นิการากัว ขบวนการคอ​นท​ราส์ (Contras) ของ​นิการากัว​ภาย​หลัง​จาก​ที่​ขบวนการ​ซาน​ดินิ​ส​ตา​ปกครอง​ประเทศ
ขบ​วน​การ​เวยี ​ดกง (Viét cóng) ใน​เวยี ดนามเหนอื ​และ​เวยี ดนามใต​ช้ ว่ ง​สงคราม​เวยี ดนาม (ค.ศ. 1954-1975) ขบวน​กา​ร
มจ​ู าฮด​ี นี (Mujahidin) ในอ​ ฟั กานสิ ถาน ขบวนการย​ น​ู ติ า​้ (UNITA) ในแ​ องโ​กล​ าภ​ ายห​ ลงั จ​ ากท​ อี​่ งั กฤษใ​หเ​้ อกราช เปน็ ตน้
       ประเภท​ที่​สาม ขบวนการ​ที่​ชาว​อาณานิคม​จัด​ตั้ง​เพื่อ​การ​ต่อ​ต้าน​ประเทศ​ผู้​ปกครอง​อาณานิคม​เดิม​ที่​ไม่​ยอม​
ปลด​ปล่อย​ดิน​แดน​เหล่า​นี้​ให้​เป็น​เอกราช ทำ�ให้​ขบวนการ​ต้อง​ต่อ​ต้าน​ผู้​ปกครอง​อาณานิคม เช่น ขบวน​การ​เฟลิ​โม
(FRELIMO) ในโ​มซัมบิก ที่ต​ ่อ​ต้าน​การ​ปกครองข​ อง​รัฐบาลโ​ปรตุเกส เป็นต้น
       โครงสร้างแ​ ละก​ ระบวนการข​ องข​ บวนการป​ ลดป​ ล่อยแ​ ห่งช​ าตใิ​นป​ ระเทศแ​ ต่ละป​ ระเทศม​ ีค​ วามแ​ ตกต​ ่างก​ ันไ​ป
ขึ้น​อยู่ก​ ับ​ปัจจัยใ​น​การ​รวม​กลุ่ม เช่น ภาวะ​ผู้นำ� ทรัพยากร สมาชิก การจ​ ูงใจ เป็นต้น และอ​ งค์​ประกอบ​แวดล้อม เช่น
จิตสำ�นึกร​ ่วม ความร​ ู้สึกช​ าตินิยม (Nationalism) เป็นต้น ทำ�ให้ส​ มรรถนะข​ องข​ บวนการป​ ลดป​ ล่อยแ​ ห่งช​ าตแิ​ ต่ละแ​ ห่ง​
มีค​ วามแ​ ตก​ต่างก​ ัน อันน​ ำ�​มาส​ ู่ว​ ิธีก​ าร​ที่ร​ ุนแรง เช่น การใ​ช้ก​ ำ�ลัง และก​ าร​ต่อสู้แ​ บบส​ ันติว​ ิธี เช่น อหิงสา เป็นต้น
       ขบวนการ​ปลด​ปล่อยแ​ ห่งช​ าติ​ที่ม​ ี​บทบาทส​ ำ�คัญ​ภายห​ ลังก​ าร​สิ้น​สุดข​ อง​สงคราม​เย็น แบ่ง​ออกเ​ป็น 3 ประเภท
ได้แก่
       ประเภท​แรก กลุ่ม​ชนชาติ​หรือ​เชื้อ​ชาติ​ที่​แยก​ตัว​ออก​เพื่อ​จัด​ตั้ง​รัฐ​ชาติ​ใหม่ ตัวอย่างเช่น ขบวนการ​ทางการ​
เมือง​ใน​ประเทศ​สหภาพ​โซเวียต​มี​บทบาท​ที่​สำ�คัญ​ใน​การ​เรียก​ร้อง​ทางการ​เอกราช​ภาย​หลัง​สหภาพ​โซเวียต​ล่ม​สลาย​
ใน ค.ศ. 1991 ทำ�ให้​เกิด​กลุ่ม​ประเทศ​เครือรัฐเ​อกราช (Confederation of Independence State: CIS) ที่ม​ ี​รัสเซีย​
เป็น​แกน​นำ�  การ​เรียก​ร้อง​เอกราช​ของ​ขบวนการ​ปลด​ปล่อย​ปาเลสไตน์​ทำ�ให้​เกิด​รัฐ​ปาเลสไตน์ การ​เรียก​ร้อง​เอกราช​
ของ​ขบวนการ​ติมอร์​เป็น​ที่มา​ของ​การ​ปลด​ปล่อย​ติมอร์​ตะวัน​ออก​ให้​เป็น​เอกราช​จาก​อินโดนีเซีย​และ​มี​การ​สถาปนา​
สาธารณรัฐ​ประชาธิปไตย​ติมอร์ เป็นต้น เป็น​ที่​น่า​สังเกต​ว่าการ​เรียก​ร้อง​เอกราช​ของ​ขวน​การ​ปลด​ปล่อย​แห่ง​ชาติ​นี้​มี​
ความส​ ัมพันธ์ก​ ับแ​ นวคิดช​ าตินิยมท​ ี่เ​ป็นค​ วามร​ ู้สึกข​ องป​ ระชาชนท​ ี่เ​ป็นช​ นกล​ ุ่มน​ ้อยใ​นป​ ระเทศห​ นึ่ง ทำ�ให้ก​ ารเ​รียกร​ ้อง​
เอกราชด​ ำ�เนินม​ า​อย่าง​ต่อ​เนื่องแ​ ละ​บรรลุผ​ ลภ​ ายห​ ลัง​สงครามเ​ย็นส​ ิ้น​สุด​ลง
       ประเภท​ที่​สอง   ขบวนการ​ปลด​ปล่อย​แห่ง​ชาติ​ที่​เป็นการ​โค่น​ล้ม​ผู้​ปกครอง​ที่​เป็น​เผด็จการ​หรือ​เอา​รัด
เ​อาเ​ปรียบท​ างการเ​มอื ง เศรษฐกิจ และส​ งั คมจ​ ากป​ ระชาชน ขบวนการป​ ลดป​ ล่อยแ​ ห่งช​ าตส​ิ ่วนใ​หญย่​ งั ม​ บี​ ทบาทใ​นห​ ลาย​
ประเทศ แต่​ความส​ ำ�เร็จ​ส่วน​ใหญ่ม​ ักม​ ีใ​นช​ ่วงท​ ศวรรษท​ ี่ 1980 เพราะภ​ าย​หลังส​ งคราม​เย็น กระแสค​ วามเ​ปลี่ยนแปลง​

         27 สมพงศ์ ชูม​ าก ความ​สัมพันธ์ร​ ะหว่างป​ ระเทศ​ยุค​ปัจจุบัน (ทศวรรษ 1990 และ​แนวโ​น้ม) กรุงเทพมหานคร สำ�นักพ​ ิมพ์​จุฬาลงกรณ​์
มหาวิทยาลัย 2542 หน้า 203-204
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32