Page 34 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 34
15-24 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ
เรอื่ งท่ี 15.3.1
แนวคิดท่ัวไปเกยี่ วกบั บ รรษทั ขา้ มช าต3ิ 6
บรรษทั ข้ามชาติ (Multinational Cooperation: MNCs) คือ บริษัททางธ ุรกิจท ี่อยู่ในประเทศห นึ่งและล งทุน
โดยตรงในต ่างป ระเทศ37 บรรษัทข้ามช าติจึงเป็นบรรษัทท ี่มีท ี่ตั้งส ำ�นักงานใหญ่ (Head quarters) อยู่ในป ระเทศห นึ่ง
ที่เป็นประเทศเจ้าของหรือประเทศแม่ (Home Country) และม ีบ ริษัทสาขา (Subsidiaries) อยู่ในป ระเทศที่ร ับการ
ลงทุนหรือประเทศเจ้าบ้าน (Host Country) ทำ�ให้บรรษัทข้ามชาติมีการลงทุนมากกว่าหนึ่งประเทศเสมอ ลักษณะ
สำ�คัญข องบ รรษัทข ้ามช าติคือ การเป็นกิจการธุรกิจเอกชนที่ม ีส ำ�นักงานใหญ่ต ั้งอ ยู่ที่ป ระเทศหนึ่ง แต่ม ีส ำ�นักงานสาขา
ตั้งอยู่ท ี่อีกประเทศห นึ่ง การจัดโครงสร้างอ งค์การเป็นแ บบก ารแบ่งงานกันตามผ ลผลิต (Product Division) ตามการ
แบ่งงานกันทำ�ระหว่างป ระเทศ (International Division) ซึ่งเป็นท ี่นิยมภายห ลังส งครามโลกค รั้งที่สอง ตัวอย่างของ
บรรษัทข า้ มช าติ เชน่ บรษิ ัทเจเนรัลม อเตอรข์ องส หรฐั อเมรกิ า บรษิ ทั ฟ อ รด์ มอเตอรข์ องส หรัฐอเมรกิ า บริษัทร อยัลด ัชท-์
เชลล์ข องอังกฤษแ ละเนเธอร์แลนด์ บริษัทไอบีเอ็มของสหรัฐอเมริกา บริษัทเดมเลอร ์-ไครซ์เลอร ์ของเยอรมนี บริษัท
นิสส ันมอเตอร์ของญี่ปุ่น บริษัทซัมซ ุงของเกาหลีใต้ เป็นต้น
ขั้นต อนส ำ�คัญของพัฒนาการของบรรษัทข้ามช าติ ได้แก่38 ขน้ั ต อนท หี่ นง่ึ บรรษัทข ้ามชาติจะกำ�หนดกลยุทธ์
ทางธ ุรกจิ ใหม้ คี วามแ ตกต า่ งก นั ในแ ตล่ ะป ระเทศทด่ี �ำ เนนิ ก าร เสมอื นห นง่ึ เปน็ บ รรษทั พ หชุ าติ (Multidomestic Corpe-
ration) ขนั้ ต อนท ส่ี อง บรรษัทข ้ามช าตพิ ยายามค รอบงำ�ตลาดโลก แตเ่ ปน็ ค วามพ ยายามท ี่มาจ ากบ รรษัทแ ม่ เพื่อใหเ้ ปน็
บรรษัทโลก (Global Corporation) ขน้ั ตอนท สี่ าม การแสวงหาและก ารใช้ประโยชน์จากท รัพยากรทั่วโลก การจ ัดการ
ระดับโลก การผลิตร ะดับโลก และสมรรถนะด ้านอื่น เพื่อให้ม ีส ถานะข้ามชาติ (Transnational Status) เป็นบรรษัท
ข้ามชาติ (Transnational Corporations: TNCs)
ความสำ�คัญของบรรษัทข้ามชาตินำ�มาสู่ความเปลี่ยนแปลงทั้งด้านบวกและด้านลบต่อประเทศเจ้าของและ
ประเทศท ี่รับก ารล งทุน แบ่งอ อกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ และด้านส ังคม39
1. ด้านการเมือง บรรษัทข้ามชาติมีส่วนสำ�คัญในการพัฒนาการทางการเมืองด้วยการให้การสนับสนุนการ
ดำ�เนินการทางการเมือง เช่น การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนไปใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง การทำ�ให้คนงาน
(blue collar) และพนักงานในสำ�นักงาน (white collar) มีค วามต ื่นต ัวในร ะบบการเมืองส มัยใหม่ เป็นต้น ในทางลบ
บรรษัทข ้ามช าติม ีค วามส ามารถแ ทรกแซงก ระบวนการท างการเมืองภ ายในข องป ระเทศท ี่รับก ารล งทุนเพื่อส นองต อบ
ต่อผ ลประโยชน์ของบ รรษัท กล่าวอีกนัยห นึ่ง บรรษัทข ้ามช าติส ามารถใช้ทรัพยากรของตนในก ารท ำ�กิจกรรมทางการ
เมืองที่ถูกและผิดกฎหมาย อาทิ การประชาสัมพันธ์ การรณรงค์เลือกตั้ง การติดสินบน การควํ่าบาตรทางเศรษฐกิจ
เพื่อมีอิทธิพลต่อรัฐบาล โดยใช้ความได้เปรียบด้านทุนและโครงสร้างองค์การแบบสากลนิยมเป็นเครื่องมือทางการ
เมือง ตัวอย่างเช่น บรรษัทข้ามชาติของฝรั่งเศสมีการลงทุนและสร้างอิทธิพลทางการเมืองแก่ประเทศในแถบทะเล
ทรายซ าฮ าร าตอนล ่าง (Sub-Sahara Africa) อาทิ เซเนกัลท ี่เคยเป็นอาณานิคมของฝ รั่งเศส เป็นต้น แต่ปัญหาส ำ�คัญ
36 ธโสธ ร ตู้ท องคำ� อ้างแล้ว หน้า 14-17 ถึง 14-23
37 Charles W. Kegley, Jr. and Eugene R. Wittkopf World Politics : Trend and Transformation. New York: St. Martin’s
press 1997 p. 189.
38 สมพงศ์ ชูมาก ความส ัมพันธ์ร ะหว่างป ระเทศยุคป ัจจุบัน (ทศวรรษ 1990 และแ นวโน้ม) กรุงเทพมหานคร สำ�นักพิมพ์จ ุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย 2542 หน้า 169
39 See Joan Edelman Spero. The Politics of International Economic Relations. London: Urwin 1990 Chapter 8.