Page 39 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 39

องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-29

Industrialized Countries: NICs) ที่ป​ ระกอบ​ด้วย สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน และฮ​ ่องกง แสดง​ถึงบ​ รรษัท​ข้ามช​ าติ​
เป็นส​ ่วนส​ ำ�คัญท​ ี่ท​ ำ�ให้ม​ ีค​ วามส​ ำ�เร็จ​ในก​ ารพ​ ัฒนาอ​ ุตสาหกรรม และก​ ารก​ ำ�ลังก​ ้าวพ​ ้นจ​ ากก​ ารเ​ป็นป​ ระเทศก​ ำ�ลังพ​ ัฒนา​
เข้าส​ ู่​การเ​ป็น​ประเทศ​พัฒนา​แล้ว และ​เริ่มม​ ี​ปรากฏการณ์​ของ​บรรษัท​ข้าม​ชาติ​ที่มาจ​ ากป​ ระเทศ​กำ�ลัง​พัฒนา เช่น บริษัท​
แดวูข​ องเ​กาหลีใต้ เป็นต้น

       นับ​ตั้งแต่ภ​ ายห​ ลัง​สงครามโลกค​ รั้งท​ ี่​สองเ​ป็นต้นม​ า บรรษัทข​ ้าม​ชาติ​ต่าง​มี​บทบาท​การล​ งทุนใ​น​ประเทศ​กำ�ลัง​
พัฒนา​มี​สัดส่วนท​ ี่​มาก ใน​ทศวรรษ 1960 และ 1970 การล​ งทุนจ​ ากต​ ่าง​ประเทศโ​ดยตรงค​ ิด​เป็น​ร้อยล​ ะ 15 มี​มูลค่า
7,000 ล้าน​ดอลลาร์​สหรัฐฯ และ​ลด​ลง​เล็ก​น้อย​ใน​ต้น​ทศวรรษ 1980 แต่​ใน ค.ศ. 1987 การ​ลงทุน​จาก​ต่าง​ประเทศ​
โดยตรงค​ ิดเ​ป็น​ร้อย​ละ 22 มีม​ ูลค่า 20 พัน​ล้านด​ อลลาร์​สหรัฐฯ42 การ​ลงทุนข​ องบ​ รรษัท​ข้ามช​ าติ​จึง​นับเ​ป็นส​ ่วน​สำ�คัญ​
ใน​การ​สร้างค​ วาม​เจริญ​เติบโต​ทาง​เศรษฐกิจข​ อง​ประเทศก​ ำ�ลังพ​ ัฒนา ประเทศท​ ี่​รับ​การ​ลงทุน​ที่​มี​ผล​ต่อ​เศรษฐกิจโ​ลก​
โดยร​ วม บทบาทข​ องบ​ รรษัทข​ ้ามช​ าตจิ​ ึงม​ คี​ วามส​ ำ�คญั ใ​นร​ ะบบเ​ศรษฐกิจแ​ บบเ​สรีนิยมห​ รือท​ ุนนิยม หรือร​ ะบบเ​ศรษฐกิจ​
แบบ​เสรีนิยม​หรือ​ทุนนิยม​เป็น​ส่วน​สำ�คัญ​ใน​การ​ขับ​เคลื่อน​การ​ลงทุน​ของ​บรรษัท​ข้าม​ชาติ และ​การ​สิ้น​สุด​ของ​ความ​
ขัด​แย้ง​ด้าน​อุดมการณ์​นับ​เป็น​ส่วน​สำ�คัญ​ที่​ทำ�ให้​ระบบ​เศรษฐกิจ​แบบ​ทุนนิยม​แผ่​ขยาย​ไป​ทั่ว​โลก​ที่​ย่อม​มี​ผล​ต่อ​การ​
ลงทุนข​ อง​บรรษัท​ข้าม​ชาติท​ ี่ม​ ีต​ ่อ​ประเทศ​ทั้ง​หลายใ​น​โลก​อย่าง​มี​นัยส​ ำ�คัญ

  กจิ กรรม 15.3.1
         จงอ​ ธบิ ายค​ วาม​หมาย​และ​ลักษณะส​ �ำ คัญข​ อง​บรรษัทข​ ้าม​ชาติ

  แนว​ตอบ​กจิ กรรม 15.3.1
         บรรษัท​ข้าม​ชาติ​คือ บริษัท​ทาง​ธุรกิจ​ท่ี​อยู่​ใน​ประเทศ​หน่ึง​และ​ลงทุน​โดยตรง​ใน​ต่าง​ประเทศ บรรษัท​

  ข้าม​ชาติ​จึง​เป็น​บรรษัท​ที่​มี​ท่ี​ต้ัง​สำ�นักงาน​ใหญ่​อยู่​ใน​ประเทศ​หน่ึง​ท่ี​เป็น​ประเทศ​เจ้าของ​หรือ​ประเทศ​แม่ และ​มี​
  สาขาห​ รอื บ​ รษิ ทั ล​ กู อ​ ยใ​ู่ นป​ ระเทศท​ ร​ี่ บั ก​ ารล​ งทนุ ห​ รอื ป​ ระเทศเ​จา้ บ​ า้ น ท�ำ ใหบ​้ รรษทั ข​ า้ มช​ าตม​ิ ก​ี ารล​ งทนุ ม​ ากกวา่ ​
  หนง่ึ ป​ ระเทศเ​สมอ ลกั ษณะส​ �ำ คญั ข​ องบ​ รรษทั ข​ า้ มช​ าตค​ิ อื การเ​ปน็ ก​ จิ การธ​ รุ กจิ เ​อกชนท​ ม​ี่ ส​ี ำ�นกั งานใ​หญต​่ ง้ั อ​ ยท​ู่ ​่ี
  ประเทศห​ นง่ึ แตม​่ ส​ี �ำ นกั งานส​ าขาต​ งั้ อ​ ยท​ู่ อ​่ี กี ป​ ระเทศห​ นง่ึ การจ​ ดั โ​ครงสรา้ งอ​ งคก์ ารเ​ปน็ แ​ บบก​ ารแ​ บง่ ง​ านก​ นั ต​ าม​
  ผลผลติ ​ตามก​ าร​แบ่งง​ าน​กันท​ ำ�​ระหวา่ ง​ประเทศ ซงึ่ ​เปน็ ท​ นี่​ ยิ มภ​ าย​หลงั ​สงครามโลก​คร้งั ท​ ส​่ี อง

         42 See Joan Edelman Spero. op.cit. Chapter 8.
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44