Page 38 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 38
15-28 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ
ที่บริษัทไอทีทีท ี่ส นับสนุนให้ส หรัฐอเมริกาทำ�สงครามเศรษฐกิจกับช ิลี หลังจากที่นโยบายของประธานาธิบดีซัลบาดอร์
อัลเยนเด้ (Salvador Allende) ทีท่ ำ�ใหก้ ิจการเอกชนเป็นข องร ัฐ ทำ�ความเสียห ายแ กบ่ ริษัทใน ค.ศ. 1970-197341 นำ�ไป
สูก่ ารก ำ�จัดป ระธานาธิบดอี ัลเยนเดด้ ้วยก ารร ัฐประหารซ ึ่งเป็นท ีเ่ชื่อก ันว ่าส หรัฐอเมริกาอ ยูเ่บื้องห ลัง เป็นต้น และในท าง
เศรษฐกิจค ือก ารเอาร ัดเอาเปรียบท างเศรษฐกิจ กระบวนการพ ัฒนาย ังม ผี ลต ่อค วามต ้องการท ีอ่ ยูอ่ าศัย สวัสดิการ การ
คมนาคม และเพื่อสนองตอบต่อแ รงกดดันที่เกิดขึ้นและเป็นการรักษาฐานอำ�นาจของต นเองทำ�ให้ชนชั้นนำ�ในป ระเทศ
กำ�ลังพ ัฒนาร่วมมือก ับปัญญาช นในก ารต ่อต้านบ รรษัทข ้ามช าติ ดังเช่นประเทศในเอเชียต ะวันออกเฉียงใต้ อาทิ นิสิต
นักศ ึกษาแ ละป ระชาชนในป ระเทศไทยแ ละอ ินโดนีเซียต ่อต ้านญ ี่ปุ่นในท ศวรรษ 1970 เป็นต้น กระแสก ารต ่อต ้านท ำ�ให้
รัฐบาลของป ระเทศหลายป ระเทศต่างเข้าควบคุมกิจการข องบ รรษัทข ้ามชาติให้เป็นข องรัฐ อาทิ รัฐบาลเปรูเข้าควบคุม
บรรษัทปิโตรเลียมระหว่างประเทศ (International Petroleum Corporation) ธนาคารหลายแห่ง อุตสาหกรรม
เกี่ยวกับปลาที่เป็นรายได้หลัก รัฐบาลชิลีและแซมเบียเข้าควบคุมอุตสาหกรรมทองแดง การดำ�เนินการบรรลุถึงจุด
สูงสุดใน ค.ศ. 1975 จนภายห ลังจึงลดค วามเข้มข ้นล ง นอกจากนี้รัฐบาลยังใช้วิธีก ารอ ื่น เช่น การร่วมทุน การท ำ�ความ
ตกลงส ัมปทาน (licensing agreement) การจดท ะเบียน เป็นต้น
ในทศวรรษ 1980 แม้ว่าประเทศกำ�ลังพัฒนาทั้งหลายจะมีการเปลี่ยนแปลงกิจการของบรรษัทข้ามชาติให้
กลายเป็นของรัฐ แต่บรรษัทข้ามชาติกลับมีบทบาทสำ�คัญในการควบคุมและดำ�เนินการกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ
ประเทศกำ�ลังพ ัฒนา อาทิ บรรษัทข้ามช าติระดับโลก 7 แห่ง (7 sisters) เป็นผู้ท ี่ผ ลิตและซื้อนํ้ามันดิบจ ำ�นวนร้อยล ะ
43 จากประเทศนอกทวีปอเมริกาเหนือและประเทศสังคมนิยม และร้อยละ 24 จากบริษัทนํ้ามันหรือบริษัทการค้าที่
มีขนาดเล็กก ว่า ใน ค.ศ. 1980 บรรษัทข้ามช าติข นาดใหญ่จำ�นวน 6 แห่งมีความสามารถในการผ ลิตบอกไซต์ร ้อยล ะ
46 อะลูมินาร้อยล ะ 50 และ อะลูม ิเนียมร ้อยละ 45 เป็นท ี่น ่าสังเกตว ่านับตั้งแต่สงครามโลกค รั้งท ี่สอง การเติบโตของ
ภาคการผลิตที่เป็นสินค้าอุปโภคบริโภคของบรรษัทข้ามชาติในประเทศพัฒนาแล้ว ทำ�ให้ประเทศกำ�ลังพัฒนาเสนอ
สิ่งจูงใจในการล งทุนในภาคก ารผลิต และทำ�ให้บ รรษัทข ้ามชาติม ีบ ทบาทท ี่สำ�คัญในการเพิ่มสัดส่วนของการผ ลิตภ าค
อุตสาหกรรมภ ายในป ระเทศ
การส ่งส ินค้าอ อกต ่างป ระเทศ อาทิ บรรษัทข ้ามช าตมิ สี ัดส่วนในก ารค วบคุมก ารนำ�เข้าร ้อยล ะ 32 ของก ารผ ลิต
ร้อยล ะ 32 ของก ารส ่งอ อก และร ้อยล ะ 23 ของก ารจ ้างง านในป ระเทศบ ราซิล เป็นต้น การข ยายต ัวข องบ รรษัทข ้ามช าติ
กลางท ศวรรษ 1980 เปน็ ผ ลม าจ ากก ารล งทนุ โดยตรงในต า่ งป ระเทศท มี่ กี ารเพิม่ ข ึน้ อ ยา่ งร วดเรว็ สว่ นใหญเ่ ปน็ การข ยาย
ตวั ข องก ารล งทนุ ท างด า้ นบ รกิ าร เปน็ ผ ลใหธ้ นาคารม สี ว่ นส �ำ คญั ในร ะบบเศรษฐกจิ โลก การล งทนุ ไดข้ ยายค รอบคลมุ ท ัง้
ประเทศพัฒนาแล้วแ ละป ระเทศก ำ�ลังพ ัฒนา รวมทั้งประเทศที่เริ่มมีก ารเปิดป ระเทศ เช่น จีน อินเดีย เม็กซิโก รัสเซีย
ฮังการี บราซิล และอ าร์เจนตินา เป็นต้น
เป็นที่น่าสังเกตว่า แม้ว่าจากประสบการณ์ของประเทศกำ�ลังพัฒนาในทศวรรษ 1970 จะทำ�ให้รัฐบาลใน
ประเทศกำ�ลังพัฒนาต่างเข้าตรวจสอบและควบคุมกิจกรรมของบรรษัทข้ามชาติมากยิ่งขึ้น ทำ�ให้บรรษัทข้ามชาติต่าง
หันเข้าลงทุนในประเทศพัฒนาแล้วด้วยกัน และลดการลงทุนในประเทศกำ�ลังพัฒนาลง ดังจะเห็นได้จากการลดลง
ของก ารลงทุนในประเทศก ำ�ลังพัฒนาจ ากร้อยล ะ 30.2 ใน ค.ศ. 1982 เหลือเพียงร้อยล ะ 23.3 ใน ค.ศ. 1985 เป็นต้น
ยกเว้นในบางประเทศที่สัดส่วนก ารล งทุนจากต ่างป ระเทศย ังคงส ูงอยู่ อาทิ จีน อินโดนีเซีย และไทย เป็นต้น อันเป็น
เหตุผลสำ�คัญที่ทำ�ให้บรรษัทข้ามชาติยังคงมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและสัดส่วนการลงทุนทางตรงที่เพิ่มขึ้น และ
ปรากฏการณท์ สี่ �ำ คัญป ระการห นึง่ ในป ระเทศก ำ�ลงั พ ฒั นาค อื การถ ือก ำ�เนิดข องก ลุ่มป ระเทศอ ุตสาหกรรมใหม่ (Newly
41 See Daniel S. Papp. Contemporary International Relations: Framework for understanding. New York: MacMillan
College Publishing Company 1994, p. 100-102 และส มพงศ์ ชูมาก ความส ัมพันธ์ระหว่างประเทศย ุคปัจจุบัน (ทศวรรษ 1990 และแนวโน้ม)
กรุงเทพมหานคร สำ�นักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ม หาวิทยาลัย 2542 หน้า 175-178