Page 42 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 42
15-32 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ
ประเทศน อกจากจ ะต ้องร วมส ินค้าแ ละบริการข ้ามพ รมแดนแ ล้ว แต่ยังต้องรวมถึงส ินค้าและบ ริการท ี่ผลิตในป ระเทศ
โดยเครือบรรษัทข ้ามช าติอีกด้วย
ดังน ั้น บรรษัทข้ามชาติจึงมีส่วนโดยตรงถึง 1 ใน 3 ของผลผลิตทั่วโลก ทั้งในป ระเทศพัฒนาแล้วและประเทศ
กำ�ลังพัฒนา บรรษัทข ้ามชาติที่ใหญ่ที่สุดอ ยู่ในส หรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เยอรมนี อังกฤษ อิตาลี และเนเธอร์แลนด์ และ
การล งทุนข้ามช าติได้ท ำ�การเปลี่ยนแปลงจากก ารม ีส าขาในต ลาดม าเป็นบ รรษัทข ้ามช าติอ ย่างแ ท้จริง แม้ว่าในด ้านห นึ่ง
จะเป็นการแบ่งการผลิตระหว่างประเทศ แต่ในอีกด้านหนึ่งการผลิตระหว่างประเทศเหล่านี้จะมีความแตกต่างในตัว
สินค้า มาตรฐาน กลยุทธ์ท ั้งห ลาย เพื่อให้ส ินค้าแ ละบ ริการส ามารถจ ำ�หน่ายได้โดยท ั่วไป แต่ก ระนั้นก ารด ำ�เนินก ารบ าง
ข ั้นต อนอ าจม คี วามเหมือนก ัน อาทิ การผ ลิตส ินค้าช นิดห นึ่งอ าจม กี ารอ อกแบบในป ระเทศห นึ่ง ผลิตในอ ีกป ระเทศห นึ่ง
เพื่อจำ�หน่ายให้ก ับอีกประเทศหนึ่งก็ได้ เช่น รองเท้าไนกี้ เป็นต้น
ลักษณะก ารด ำ�เนินก ารที่โดดเด่นข องบ รรษัทข ้ามช าติในกระแ สโลกาภ ิวัตน์คือ การส ร้างร ะบบพ ันธมิตรท าง
ธุรกิจ (strategic business alliance) ที่ให้ค วามสำ�คัญกับการร ่วมท ุน (joint venture) หุ้นส ่วน (partnership) และ
การให้บริษัทอ ื่นเข้ามาท ำ�หน้าที่แทนบ ริษัทข องต นในบางก ิจการ เพื่อให้บรรษัทสามารถแข่งขันในตลาดโลกในปัจจุบัน
ได้อ ย่างเต็มที่50 ดังเช่น พันธมิตรของส ายการบินที่สำ�คัญคือ การจัดต ั้งพันธมิตรด วงดาว (Star Alliance) ใน ค.ศ.
1997 เป็นต้น เป็นผ ลให้ในท ศวรรษ 1990 บรรษัทข ้ามชาติม ีท ั่วโลกมากกว่า 10,000 บรรษัท และมีส าขาในต ่างประเทศ
อย่างน ้อยท ี่สุดม ากกว่า 90,000 สาขา โดยที่ไมไ่ดน้ ับร วมบ รรษัทท ีร่ ัฐเป็นเจ้าของ (State-Own Enterprise) เป็นท ีค่ าด
การณ์ว ่า ใน ค.ศ. 2000 บรรษัทข้ามช าติเหล่าน ี้ม ีก ารผลิตส ินค้ามากกว่า 2 ใน 3 ของผ ลิตภัณฑ์มวลร วมท างเศรษฐกิจ
(Gross Economic Product) ของโลกท ั้งหมด51
โครงสร้างและกระบวนการของโลกาภิวัตน์นับเป็นส่วนสำ�คัญของความเปลี่ยนแปลงที่มีความสัมพันธ์กับ
ประเทศและระบบเศรษฐกิจในโลกเชื่อมโยงเข้าหาและผูกพันกันด้วยผลของกิจกรรมข้ามพรมแดนที่เพิ่มมากขึ้น
กระบวนการของโลกาภิวัตน์จึงมีความสลับซับซ้อนและยุ่งเหยิง นำ�มาสู่การกำ�หนดลักษณะสำ�คัญ 4 ประการ52
คือ ความคล่องตัวในการเคลื่อนย้าย (mobility) การเกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน (simultaneity) การมีช่องทางในการ
ดำ�เนินการมากกว่าปกติ (by-pass) และความหลากหลายและกระจายในการดำ�เนินการ (pluralism) และมีผลต่อ
ความเปลี่ยนแปลงของบ รรษัทข้ามช าติ53
ความค ล่องตัวในการเคลื่อนย้ายเป็นค วามส ามารถเคลื่อนย ้ายท ุน แรงงาน ความรู้ ข้อมูลข ่าวสาร หรืออื่นใด
จากแหล่งหนึ่งไปยังอีกแหล่งหนึ่งได้อย่างมีเสรีภาพ และมีผลกระทบต่อการดำ�เนินกิจการและความเสี่ยงของกิจการ
ตัวอย่างเช่น การเคลื่อนย้ายท ุนข องธ นาคารแ บร์ริง (Barring) ที่ม ีอายุม ากกว่า 233 ปี ด้วยค วามผิดพ ลาดในการเก็ง
กำ�ไรแ ละค วามผ ันผวนจ ากค ่าเงิน ทำ�ใหธ้ นาคารต ้องล ้มล ะลายใน ค.ศ. 1995 การม ชี ่องท างการด ำ�เนินก ารม ากกว่าป กติ
ทำ�ให้บ รรษัทข ้ามชาติสามารถด ำ�เนินก ารป ระกอบกิจกรรมข ้ามช าติมากขึ้น เช่น การเปิดการค้าเสรี เป็นต้น
การเกิดในเวลาเดียวกันเป็นการส ร้างโอกาสท างการต ลาดข องบ รรษัทข ้ามช าติในก ารผ ลิตส ินค้าแ ละบ ริการท ี่
เหมือนก ันห รือเป็นม าตรฐานเดียวกัน และส ามารถแ พรข่ ยายไดอ้ ย่างร วดเร็ว และค วามห ลากห ลายแ ละก ารกร ะจ ายใน
การด ำ�เนนิ ก าร ท�ำ ใหบ้ รรษัทข า้ มช าตติ อ้ งป รับก ลยุทธก์ ารผ ลติ ทั้งนเี้ พราะแ ตเ่ดมิ ก ารผ ลติ อ าจม กี ารผ ูกขาดท ีศ่ ูนย์กลาง
การผ ลิตแห่งใดแห่งห นึ่ง แต่น ับแต่นี้ไปม ีก ารกระจ าย การผลิตไปย ังป ระเทศห รือท ้องถิ่นอื่นเพิ่มมากขึ้น ตัวอย่างเช่น
50 ธีระ นุชเปี่ยม อ้างแ ล้ว หน้า 134
51 สมพงศ์ ชูม าก ความสัมพันธ์ร ะหว่างประเทศยุคปัจจุบัน (ทศวรรษ 1990 และแ นวโน้ม) อ้างแล้ว หน้า 180
52 Rosabeth Moss Kanter and Todd L. Pittinsky. “Globalisation: New Worlds for Social Inquiry.” Berkeley Journal
of Sociology: A Critical Review. 40: 1995-1996, p. 1
53 ธีระ นุชเปี่ยม อ้างแ ล้ว หน้า 86-87