Page 47 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 47
องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-37
เร่ืองท ่ี 15.4.1
องคก์ ารพ ัฒนาเอกชน57
องค์การพ ัฒนาเอกชน (Non-Government Organization: NGOs) คือ องค์การส าธารณะท ี่ม ิได้แสวงหา
กำ�ไร โดยม ีล ักษณะด ังนี้ ประการแ รก การจ ัดต ั้งเป็นล ักษณะอ งค์การสาธารณะที่เป็นอิสระแ ละอยู่น อกข อบเขตของรัฐ
และร ัฐบาล ประการท ่ีสอง การเป็นองค์การท ี่มิได้แสวงหากำ�ไร การดำ�เนินก ิจกรรมข องอ งค์การมาจากการส นับสนุน
จากประชาชน กิจการธุรกิจ บริษัทห้างร้าน สมาคม หรือรัฐและรัฐบาล เป็นต้น ประการท่ีสาม วัตถุประสงค์สำ�คัญ
เพื่อสนับสนุนกิจกรรมของประชาชนทุกด้าน ที่สำ�คัญคือ การพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพชีวิต การพิทักษ์รักษา
สิ่งแวดล้อม เป็นต้น ประการท ่สี ี่ กิจกรรมขององค์การพัฒนาเอกชนมีทั้งการสนับสนุนและการต่อต้านกิจกรรมของ
รัฐ เพื่อให้ส อดคล้องและบ รรลุถ ึงวัตถุประสงค์ข องอ งค์การ58
ความส ำ�คัญข องอ งค์การพ ัฒนาเอกชน 1) การส ร้างค วามส มดุลแ ละด ุลยภาพใหก้ ับส ังคม เพื่อใหส้ ังคมเติบโต
อย่างส อดคล้องก ับค วามต ้องการข องป ระชาชน 2) การเป็นเครื่องม ือข องป ระชาชนในก ารแ สดงค วามค ิดเห็นแ ละค วาม
ต้องการของตนเอง 3) การทำ�ให้สังคมรับรู้และตระหนักถึงป ัญหาที่มาจากสาเหตุหลายประการ 4) การทำ�ให้สังคมมี
ความเจริญก้าวหน้าและเติบโตที่มาจากทุกภาคส่วนอย่างเท่าเทียมกัน 5) การเป็นองค์การที่ประกอบด้วยโครงสร้าง
และก ระบวนการท ปี่ ราศจากอ �ำ นาจร ฐั ท�ำ ใหอ้ งคก์ ารพ ฒั นาเอกชนเปน็ อ งคป์ ระกอบส �ำ คญั ท ที่ �ำ ใหป้ ราศจากผ ลป ระโยชน์
ที่แฝงเร้นจากร ัฐและรัฐบาล 6) การท ำ�ให้ส ังคมต ระหนักถึงปัญหาสากลเพื่อน ำ�ไปส ู่ก ารแก้ไขปัญหาอ ย่างยั่งยืน 7) การ
แสวงหาท างออกแ ละทางเลือกสำ�หรับก ารพ ัฒนาในแนวทางท ี่เป็นป ระโยชน์ก ับทุกฝ ่าย และ 8) การสะท้อนถึงค่านิยม
ที่เป็นสากลแ ละเป็นส่วนสำ�คัญที่ทำ�ให้สังคมมีค วามเป็นอ ยู่และค วามเป็นไปที่เป็นม าตรฐานส ากล
หน้าที่ข องอ งค์การพ ัฒนาเอกชน ประกอบด ้วย 1) การป กป้องความต้องการของต นเองผ่านกลุ่มเพื่อม ิให้มี
การครอบงำ�หรือใช้อ ำ�นาจและอิทธิพลจากภายนอก 2) การท ำ�หน้าที่เป็นกระบอกเสียงให้กับป ระชาชนในก ารสะท้อน
ออกหรือแสดงออกถึงความต้องการของประชาชนไปยังผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง องค์การ หน่วยงาน ทั้งในระดับประเทศ
และร ะดับร ะหว่างป ระเทศเพื่อแ ก้ไขป ัญหา 3) การด ำ�เนินก ารต ามว ัตถุประสงคข์ องอ งค์การเพื่อแ ก้ไขป ัญหาแ ละพ ัฒนา
สังคม และ 4) การทำ�หน้าที่เป็นองค์ประกอบย ่อยเพื่อส ร้างค วามเข้มแข็งให้ก ับส ถาบันทางส ังคม
บทบาทข องอ งค์การพัฒนาเอกชนแ บ่งอ อกเป็น ด้านโครงสร้างแ ละกระบวนการ ด้านโครงสร้างค ือ การเป็น
องค์การเพื่อเชื่อมโยงระหว่างป ระชาชนกับภ าคส ่วนอ ื่นห รือระดับอ ื่นท ี่เกี่ยวข้อง เช่น ภาครัฐ ภาคเอกชน ระดับภายใน
ประเทศ ระหว่างป ระเทศ และก ารป ระสานร ะหว่างอ งค์การพ ัฒนาเอกชนด ้วยก ันท ี่ม วี ัตถุประสงค์แ นวทางเดียวกันเพื่อ
สร้างเป็นกลุ่มเครือข่ายหรืออื่นใด ส่วนหนึ่งเพื่อให้พลังในการกำ�หนดความเปลี่ยนแปลง ด้านกระบวนการคือ การ
ประสานขานรับนโยบายและกิจกรรมของรัฐที่เกี่ยวข้องในทุกด้าน และการต่อต้านนโยบายของรัฐที่มีผลกระทบต่อ
ผลป ระโยชน์ของประชาชนและวัตถุประสงค์ข องอ งค์การ
พัฒนาการข ององค์การพัฒนาเอกชนม ีม าต ั้งแต่อาณาจักรอียิปต์ในส มัย 1,500 ปีก ่อน คริส ตกาล เพื่อให้การ
ศึกษาแ ละภ ราดรภาพแ ก่ค นในส ังคม พัฒนาการข องอ งค์การพ ัฒนาเอกชนน ับต ั้งแต่ย ุคส มัยใหม่ท ำ�ให้อ งค์การพ ัฒนา
เอกชนขยายตัวเป็นอันมาก การแพร่ขยายที่สำ�คัญนับตั้งแต่ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองมาจากการยอมรับของ
นานาป ระเทศ การม ปี ฏิสัมพันธข์ องอ งค์การพ ัฒนาเอกชนในค วามส ัมพันธร์ ะหว่างป ระเทศ การส ื่อสารท ีม่ คี วามส ะดวก
57 ธโสธ ร ตู้ทองคำ� อ้างแล้ว หน้า 14-31 – 14-32 และ 14–39 – 14-41
58 สมพงศ์ ชูมาก ความสัมพันธ์ร ะหว่างประเทศยุคป ัจจุบัน (ทศวรรษ 1990 และแนวโน้ม) อ้างแล้ว หน้า 212-215