Page 50 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 50
15-40 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ
เร่อื งท ่ี 15.4.2
ขบวนการเคลื่อนไหวท างส งั คม61
ขบวนการเคลื่อนไหวท างสังคมหรือขบวนการท างส ังคม (social movement) คือ การร วมก ลุ่มข องบุคคล
เป็นจ ำ�นวนม ากเพื่อส ร้างค วามเปลี่ยนแปลงบ างส ิ่งบ างอ ย่างในส ังคม ทั้งในร ะดับป ระเทศแ ละร ะดับร ะหว่างป ระเทศ62
ลักษณะส ำ�คัญข องข บวนการเคลื่อนไหวท างส ังคม ได้แก่ 1) การร วมก ันข องป ระชาชนจ ำ�นวนห นึ่งซ ึ่งอ าจเป็นป ระชากร
จำ�นวนน้อยหรือประชากรจำ�นวนมาก63 2) การมีพฤติกรรมการรวมกลุ่ม 3) การกำ�หนดวัตถุประสงค์บางประการ
ที่แน่นอน64 4) การมีผลประโยชน์ร่วมเพื่อสร้างหลักประกันในเป้าหมายร่วมกัน65 5) การใช้ความเชื่อและค่านิยม
บางประการเป็นหลักในการรวมกลุ่มมากกว่าการใช้เหตุผลทำ�ให้มีการใช้ความรุนแรงหลายกรณี 6) การมุ่งเน้นการ
เปลี่ยนแปลงของส ังคม สถาบันท างสังคม หรือการต ่อต ้านการเปลี่ยนแปลงอย่างใดอ ย่างหนึ่ง66 หรือก ารป้องกันหรือ
การต ่อต้านการเปลี่ยนแปลง67 7) การมุ่งเน้นป ฏิสัมพันธ์ก ับภายนอกหรือสังคมเป็นหลัก68 8) ขอบข่ายค วามร่วมม ือ
มีล ักษณะท ี่กว้างขวางจนมีก ารขยายต ัวท ั้งจากภายในประเทศ ภูมิภาค หรือท ั่วโลก
ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมจึงมีความแตกต่างจากพฤติกรรมร่วม (collective behavior) ในแง่ที่ว่า
พฤติกรรมร่วมขาดแ บบแผนแน่นอนตามตัว เพราะเป็นเพียงค วามรู้สึกร่วมของบุคคลท ี่มาร วมกลุ่มก ันเพื่อเผชิญก ับ
สถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง ขาดการวางแผนล่วงหน้า เพราะเป็นการรวมกลุ่มตามธรรมชาติ แต่หากขบวนการ
เคลื่อนไหวท างส ังคมม ีว ัตถุประสงค์ในก ารร วมก ลุ่มอ ย่างช ัดเจนในก ารเปลี่ยนแปลงห รือต ่อต ้านก ารเปลี่ยนแปลงท าง
สังคม มีการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องเป็นร ะเบียบแบบแผนโดยม ีการจ ัดร ะเบียบโครงสร้างและกระบวนการ ภายในอ ย่าง
มีป ระสิทธิภาพแ ละประสิทธิผล69
ขบวนการเคลื่อนไหวท างสังคมจ ึงม ีค วามแ ตกต ่างจากอ งค์การห รือสถาบันท างส ังคมอื่น ๆ ในการรวมก ลุ่ม
กลุ่มผลประโยชน์ (Interest group) ที่เป็นการรวมกลุ่มเพราะมีผลประโยชน์ร่วม หากเป็นกลุ่มกดดัน (Pressure
group) ก็เป็นการร วมก ลุ่มเพราะม ีอ ุดมการณ์ร ่วม แต่ห ากเป็นข บวนการเคลื่อนไหวท างส ังคมเป็นการร วมก ลุ่มเพราะ
การนำ�สังคม วัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อ หรือองค์ป ระกอบใดองค์ป ระกอบหนึ่งท างส ังคมเข้ามาเป็นห ลักสำ�คัญใน
ก ารร วมก ลุม่ และแ ตกต า่ งพ รรคการเมอื งท เี่ ป็นการร วมก ลุ่มข องบ คุ คลท ีม่ วี ัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ช ว่ งช งิ อ ำ�นาจร ัฐอ ย่างช อบ-
ธรรมท ำ�ใหบ้ ุคคลในส ังกัดพ รรคการเมืองต ้องล งส มัครร ับเลือกต ั้ง แต่ข บวนการเคลื่อนไหวท างส ังคมต ้องการค รอบงำ�
ต่อต้าน สนับสนุน การเปลี่ยนแปลงสังคมโดยที่อาจผ่านรัฐหรือไม่ก็ได้ ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมจึงอาจเป็น
เครื่องม ือทางการเมืองของพรรคการเมือง เช่น พรรคค อมมิวนิสต์หรือพ รรคนาซีในการเผยแ พร่อุดมการณ์ท ั้งภ ายใน
61 ธโสธร ตู้ทองคำ� อ้างแล้ว หน้า 14-32 – 14-39 และ 14–41 – 14-47
62 ปรับปรุงเนื้อหาส่วนใหญ่ มาจาก ชุษณะ รุ่งปัจฉิม “หน่วยที่ 9 ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม” ใน ประมวลสาระชุดวิชาการ
เปลี่ยนแปลงทางส ังคมแ ละก ารบริหารก ารพัฒนา หน่วยที่ 7-10 นนทบุรี สำ�นักพ ิมพ ์ม หาวิทยาลัยสุโขทัยธ รรมาธิราช 2545 หน้า 142-167
63 James M. Henslin. Sociology: A Down-to-Earth Approach. Boston: Allyn and Bacon 1997, p. 594-595
64 ราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมศ ัพท์ส ังคมวิทยา อังกฤษ-ไทย กรุงเทพมหานคร ราชบัณฑิตยสถาน 2524 หน้า 352
65 Anthony Giddens. Sociology. Oxford: Polity Press, 1989 p. 624.
66 James W. Zandem. Sociology. New York: McGraw-Hill Publishing Company. 1990, p. 375.
67 Rodney Stark. Sociology. Belmont California: Wadworth Publishing Company. 1994, p. 621.
68 Giddens. op.cit. p. 624.
69 David Brinkerhoff Lynn White and Suzanne T. Ortega. Essential of Sociology. Belmont California: Wadworth
Publishing Company. 1999, p. 374-375.