Page 53 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 53
องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-43
ยอมรับห รือเป็นท ีน่ ิยม (popular) ผู้นำ�ขบวนการม ักเป็นบ ุคคลท ีม่ องก ารไกล (visionary) ทีม่ ีหน้าท ีใ่นก ารก ำ�หนดว ิสัย
ทศั นข์ องส งั คมในอ นาคต โดยอ าจส รา้ งเปน็ พ ฤตกิ รรมร ว่ ม (collective behavior) ท�ำ ใหเ้ ปน็ การเริม่ ต น้ ในก ารร วมก ลุม่
อย่างแ นบแ น่น ขน้ั ท สี่ าม การเป็นอ งค์การถ าวร (formal organization) ผู้นำ�ขบวนการม ักเป็นน ักย ุทธวิธี (tactician)
มีภาวะผู้นำ�เชิงยุทธวิธีหรือการปฏิบัติการ ทำ�หน้าที่ในการวางแผนการดำ�เนินการกิจกรรมหรือกระทำ�การทางสังคม
ในหลากหลายลักษณะและรูปแบบ และข้ันท ีส่ ี่ ขั้นการเป็นสถาบัน (institutional) ผู้นำ�ขบวนการมักเป็นนักบริหาร
(administrator) ทำ�หน้าที่การบ ริหารจัดการองค์การอ ย่างมีประสิทธิภาพแ ละประสิทธิผล
พัฒนาการข องขบวนการเคลื่อนไหวท างสังคม แบ่งออกเป็น 4 ลำ�ดับข ั้นต อน คือ75 ข้นั ตอนแรก การก่อต ัว
(emergence stage) เป็นความรู้สึกไม่พอใจของสภาพการณ์บางอย่างในสังคม เป็นความรู้สึกร่วมของคนจำ�นวน
มาก ทำ�ให้ปรารถนาเปลี่ยนแปลงสังคมบางประการ ก่อให้เกิดขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม ขั้นตอนที่สอง การ
รวมตัวหรือการผ สมผ สานร วมต ัว (coalescence stage) เป็นขั้นตอนในก ารก ำ�หนดท ิศทาง ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี การ
ดำ�เนินการ แรงจูงใจ ขวัญและกำ�ลังใจ ของขบวนการเคลื่อนไหวทางส ังคมและสมาชิกที่มีต่อภายนอก เพื่อแสวงหา
ความชอบธรรมในก ารดำ�เนินการ การสนับสนุนการดำ�เนินก าร แนวร ่วม พันธมิตร เป็นต้น ขนั้ ตอนทีส่ าม การส ร้าง
องค์การ (bureaucratization) เพื่อให้ม ีแ กนก ลางท ี่เป็นองค์การของโครงสร้าง เช่น สายการบังคับบัญชา กฎระเบียบ
ข้อบังคับ เป็นต้น และกระบวนการ เช่น ขั้นตอนการดำ�เนินการ ขั้นตอนการต่อสู้ เป็นต้น ในการดำ�เนินการเท่ากับ
เป็นการส ถาปนาให้ขบวนการก ลายเป็นกล ุ่มพลังทางการเมือง ข้ันตอนที่สี่ ความเสื่อมถ อย (decline) ภายหลังการ
ต่อสู้จนบรรลุวัตถุประสงค์ ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่มีลักษณะการเคลื่อนไหวเป็นพลวัต (dynamic) อาจมี
การป รับเปลี่ยน การแ ปรรูป การคงอยู่ หรืออ าจการเสื่อมถ อย ตามส ภาพแ วดล้อมท ี่เปลี่ยนแปลงไป
ความเสื่อมถอยของขบวนการท ี่ทำ�ให้สูญเสียอ ิทธิพลและพ ลังการต ่อสู้ มีสาเหตุ 5 ประการ คือ
1) การท ส่ี มาชิกไมเ่ หน็ ค วามจ �ำเป็นท ตี่ ้องต ่อสตู้ อ่ ไปเพราะว ตั ถปุ ระสงคบ์ รรลแุ ล้ว แตใ่ นท างป ฏิบตั ิ การ
บรรลุว ตั ถุประสงคห์ น่งึ ท�ำใหข้ บวนการจ ะขับเคลอื่ นเพ่อื ให้บ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์อื่นท สี่ งู กว่าหรือขบวนการมีวัตถุประสงค์
อื่นควบคู่ก ันไปด ้วยเสมอ ท�ำให้ก ารเส่ือมถอยม าจ ากเหตุผลอ ื่นมากกว่า
2) ปัญหาภายใน อาทิ การขัดกันในผลประโยชน์ ความขัดแย้งในหมู่ผู้น�ำ การขาดแคลนทรัพยากร
ความค ลุมเคล ือในวัตถุประสงค์ เป็นต้น
3) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอ�ำนาจภ ายใน อาทิ การแ ทรกแซงจ ากภายนอกท่ีให้การส นับสนุน ท�ำให้
วัตถุประสงค์เบ่ียงเบนไป เป็นต้น
4) การกดดันจากภายนอก ที่ส�ำคัญจากเจ้าหน้าท่ีของรัฐด้วยการข่มขู่ คุกคาม จับกุม ลอบสังหาร
เป็นต้น
5) การเปลี่ยนแปลงขบวนการกลายเป็นองค์การขนาดใหญ่ในกระแสหลัก ท�ำให้มีความขัดแย้งกับ
ส ่วนอ่ืนในสังคมท่ีเคยส นับสนุนก ารต่อสู้ เช่น สมาชิก กลุ่ม แนวร่วม พันธมิตร เป็นต้น
วงจรชีวิตของข บวนการเคลื่อนไหวท างส ังคม (Life Course of Social Movement) แบ่งออกเป็น 5 ช่วง
ชีวิต คือ76
ชว่ งที่หน่ึง การเกิดความไม่สงบและความปั่นป่วน (initial unrest and agitarian) เป็นเวลาที่
ประชาชนรู้สึกผิดหวังกับเง่ือนไขบางอย่างของสังคม ผู้น�ำจะเป็นส่วนหน่ึงท่ีสะท้อนถึงปัญหาและท�ำให้ขบวนการ
เคล่ือนไหวทางสังคมหากแสวงหาแนวร่วมและการสนับสนุนจากประชาชนบรรลุผล ขบวนการน้ันจะด�ำรงอยู่ได้ แต่
หากเป็นในท างต รงกันข้าม ขบวนการจะสิ้นสุดล งห รือขยายต ัวไม่ได้
75 John J. Macionis. Sociology. New Jersey: Prentice Hall. 1995, p. 630-632.
76 Henslin. op.cit. p. 604-605