Page 56 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 56

15-46 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ

ของร​ ะบอบ​ประชาธิปไตยท​ ี่ม​ ีล​ ัทธิ​เสรีนิยม​และท​ ุนนิยมอ​ ยู่​เบื้อง​หลัง แต่​ท่ามกลาง​ยุค​แห่ง​ความท​ ัน​สมัย (Modernity)
ที่​ปรากฏ​ใน​ระบอบก​ ารป​ กครองแ​ บบป​ ระชาธิปไตย ปรากฏการณ์ใ​นโ​ลกย​ ุค​โลกา​ภิว​ ัตน​ ์ท​ ำ�ให้เ​กิด​การป​ ลด​ปล่อยค​ วาม​
ขัดแ​ ย้งแ​ บบเ​ดิมท​ ี่เ​คยถ​ ูกก​ ดท​ ับ เ​ก็บก​ ดป​ ิดก​ ั้น​ กลายเ​ป็นป​ ระเด็น​ทางการ​เมืองใ​หม่ เช่น เพศ สีผ​ ิว เชื้อช​ าติ คนช​ ายข​ อบ
สิ่ง​แวดล้อม ศาสนา เป็นต้น ที่อ​ ยู่น​ อกเ​หนือก​ าร​นิยม​ตามค​ วามห​ มายข​ อง​การเมืองแ​ บบเ​ดิม ทำ�ให้ร​ ะบบก​ ารเมือง​แบบ​
เดิม​ไม่ส​ ามารถ​ตอบ​คำ�ถามไ​ด้ นอกจากน​ ี้​กระบวนการท​ างการเ​มืองแ​ บบเ​ดิมท​ ี่​เน้น​การ​เลือก​ตั้ง การ​มี​ส่วนร​ ่วม​ทางการ​
เมือง​แบบ​เดิม ทำ�ให้​เกิด​คำ�ถาม​ถึง​ประสิทธิภาพ​ใน​การ​จัดการ​ความ​ขัด​แย้ง​และ​ความ​ชอบ​ธรรม​ของ​สถาบัน​ทางการ​
เมือง​แบบเ​ดิม ในก​ ารแ​ ก้ไข​ปัญหาท​ ี่​มี​ความ​ยุ่งย​ ากม​ ากกว่า สลับ​ซับ​ซ้อน​มากกว่า และม​ ีข​ อบเขตก​ ว้างข​ วาง​กว่า ทำ�ให​้
เป็น​ปรากฏการณ์​การ​ต่อสู้​ระหว่าง​ระบอบ​ประชาธิปไตย​แบบ​ตัวแทน (representative democracy) และ​ระบอบ​
ประชาธิปไตยแ​ บบ​เปิด​กว้าง (dialogic democracy) ที่​ให้​ความ​สำ�คัญก​ ับ​ความ​หลากห​ ลาย (plural) การ​เปิด​กว้าง
(dialogic) การ​เปลี่ยนแปลง​อย่างถ​ อนร​ าก​ถอน​โคน (radical) บนพ​ ื้นฐ​ าน​ของ​การ​กำ�หนดอ​ ัต​ลักษณ์ (identity) ที่อ​ ยู่​
บน​ชุด​ความ​สัมพันธ์​แบบ​ใหม่ เช่น ความเ​ป็นท​ ้องถ​ ิ่นน​ ิยม (localization) เป็นต้น ทำ�ให้​เกิดก​ ารเมือง​ใหม่ท​ ี่ม​ ุ่ง​เน้นก​ าร​
สร้าง​พื้นที่ท​ างการ​เมือง (political sphere) การส​ ร้าง​ประชา​สังคม (civil society) เป็นต้น ที่ม​ ีล​ ักษณะแ​ ตกต​ ่างจ​ าก​
การเมืองแ​ บบเ​ดิม และม​ ี​ขอบเขตก​ ว้าง​ขวางด​ ้วยก​ าร​สร้าง​เป็น​เครือข​ ่าย​ครอบคลุม​ทั่วท​ ั้ง​โลก

       ขบวนการเ​คลือ่ นไหวท​ างส​ ังคม จึงม​ ท​ี ั้งข​ บวนการแ​ บบเ​ดิมท​ ีป่​ รากฏก​ ่อนก​ ารส​ ิ้นส​ ุดส​ งครามเ​ย็น และข​ บวนการ​
ถือก​ ำ�เนิดภ​ ายห​ ลังก​ าร​สิ้นส​ ุด​ของส​ งครามเ​ย็นใ​น​ช่วง​เวลาแ​ ห่งค​ วามเ​ปลี่ยนแปลงเ​ข้าส​ ู่ย​ ุคห​ ลังส​ มัยใ​หม่ (Postmoder-
nity) ที่​มี​ลักษณะ​สำ�คัญ ประกอบ​ด้วย การ​นิยาม​ขบวนการ​นอก​เหนือ​จาก​การ​ความ​ขัด​แย้ง​ทาง​ชนชั้น​ตาม​แนวทาง​
ขอ​งมาร์กซ์ การ​รวม​กัน​เป็นก​ลุ่ม​นอก​เหนือ​จาก​การ​เป็นก​ลุ่ม​ผล​ประโยชน์ พรรคการเมือง หรือ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​
ใน​ระบบ​อื่น​ใด การ​ปฏิเสธ​การ​เข้า​สู่​อำ�นาจ​รัฐ​หรือ​ให้​ความ​เชื่อ​ถือ​กับ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​ใน​การ​แก้ไข​ปัญหา และ​การ​
กำ�หนด​กติกา​หรือค​ วาม​สัมพันธ์​ชุดใ​หม่​เพื่อค​ วามเ​ป็น​ธรรม​ใน​การ​ดำ�รงช​ ีวิต83

       ขบวนการเ​คลื่อนไหว​ทางส​ ังคมใ​น​ระดับ​ระหว่างป​ ระเทศท​ ี่​สำ�คัญ ตัวอย่าง​แรก ขบวนการต​ ่อ​ต้าน​สงคราม ซึ่ง​
เป็นข​ บวนการเ​คลื่อนไหวท​ างส​ ังคมท​ ีใ่​หญท่​ ี่สุดข​ บวนการห​ นึ่งแ​ ละม​ เี​ครือข​ ่ายอ​ ยูท่​ ั่วโ​ลก เป็นเ​ครือข​ ่ายท​ ีเ่​กิดข​ ึ้นภ​ ายห​ ลัง​
การ​ที่ส​ หรัฐอเมริกา​ถูกโ​จมตีจ​ ากก​ ลุ่มก​ ่อการ​ร้ายภ​ ายห​ ลังว​ ันท​ ี่ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ทำ�ให้ส​ หรัฐอเมริกาก​ วาดล้าง​
กลุ่ม​ก่อการ​ร้าย​ด้วย​การ​จัดการ​กับ​ประเทศ​ที่​เห็น​ว่า​เป็น​ศัตรู​เพราะ​ให้การ​พักพิง​ผู้​ก่อการ​ร้าย เป็น​ที่มา​ของ​สงคราม​
สหรัฐอเมริกาก​ ับอ​ ิรัก ทำ�ใหป้​ ระเทศพ​ ันธมิตรห​ ลายป​ ระเทศต​ ้องส​ ่งท​ หารเ​ข้าส​ ูส่​ งคราม และเ​ป็นท​ ี่มาข​ องก​ ารต​ ่อต​ ้านก​ าร​
ทำ�​สงคราม เครือข​ ่าย​ที่​สำ�คัญ เช่น กลุ่มพ​ ันธมิตรย​ ุติส​ งคราม (Stop War Coalition) ในป​ ระเทศอ​ ังกฤษ84 เป็นต้น

       ตวั อย่าง​ท​ี่สอง ขบวนการน​ าซี​ใหม่ (Neo-nazi Movement) มาจ​ ากค​ วามข​ ัด​แย้งท​ าง​ด้านเ​ศรษฐกิจภ​ าย​หลัง​
การ​รวม​เยอรมนี ใน ค.ศ. 1990 ที่​ทำ�ให้​คน​เยอรมันตะวัน​ออก​เดิม​ตกงาน เพราะ​มี​คนใน​ประเทศ​ยุโรป​ตะวัน​ออก​มา​
แย่งง​ านใ​นเ​ยอรมนที​ ั้งก​ ่อนแ​ ละห​ ลังร​ วมป​ ระเทศ โดยเ​ฉพาะช​ าวต​ ุรกที​ ีอ่​ ยู่ใ​นเ​ยอรมนกี​ ว่า 1.7 ล้านค​ น สมาชิกข​ บวนการ​
นาซีใ​หม่ม​ องว​ ่าค​ นต​ ่างช​ าติเ​หล่าน​ ี้ส​ ่วนใ​หญ่ม​ าท​ ำ�งานใ​นว​ ัยห​ นุ่มส​ าวท​ ำ�ให้ม​ ีบ​ ุตรจ​ ำ�นวนม​ ากซ​ ึ่งไ​ม่ส​ ามารถพ​ ูดภ​ าษาข​ อง​
ชาติต​ นไ​ด้ แต่​พูด​ภาษา​และร​ ับ​วัฒนธรรม​เยอรมนี แย่งง​ าน​ชาวเ​ยอรมัน ทำ�ให้​ชาว​เยอรมัน​ตกงาน นำ�​มา​สู่​การ​ต่อ​ต้าน​
ตั้งแต่​การเ​ดิน​ขบวน​ประท้วง การท​ ำ�ลายอ​ าคาร​สถานท​ ี่ การ​ทำ�ร้ายร​ ่างกาย การส​ ังหาร เป็นต้น มีก​ ารนำ�​ลัทธิ​นาซี​มาใ​ช้​
เปน็ เ​ครื่องม​ อื สญั ลกั ษณส​์ �ำ คัญค​ อื เ​ครื่องห​ มายส​ ว​ ัสด​ ิกะ​ อนั เ​ป็นเ​ครื่องหมายท​ เี​่ ปน็ ส​ ญั ลักษณข์​ องน​ าซส​ี มยั ส​ งครามโลก​
ครั้ง​ที่ส​ อง และม​ ีก​ ารก​ ำ�หนด​สัญลักษณ์​อื่น เช่น การ​โกนห​ ัว (Skinheads) เป็นต้น และ​สมาชิก​ขบวนการ​แพร่ก​ ระจาย​
ใน​หมู่ช​ าว​เยอรมัน และใ​น​ประเทศใ​น​ยุโรปต​ ะวัน​ออก​หลาย​ประเทศ เป็นต้น

         83 ไชยร​ ัตน์ เจริญ​สิน​โอฬาร อ้างแ​ ล้ว หน้า 2	
         84 ปยิ ะม​ ติ ร ลลี าธ​ รรม “ขบวนการต​ อ่ ต​ า้ นส​ งครามใ​นอ​ งั กฤษก​ บั ช​ าวม​ สุ ลมิ : บทเ​รยี นบ​ างป​ ระการ” ฟา้ เ​ดยี วกนั ปท​ี ี่ 2 ฉบบั ท​ ี่ 3 กรกฎาคม-
กันยายน 2547 หน้า 228-230
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61