Page 60 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 60

15-50 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ

ลักษณะส​ ำ�คัญข​ องข​ บวนการ​โลกต​ ้องม​ าก​ ่อนค​ ือ การม​ ุ่งเ​น้นก​ ารส​ ร้างเ​ครือ​ข่ายแ​ บบโ​ยงใยม​ ากกว่า​การจ​ ัดแ​ บบส​ ายก​ าร​

บังคับบ​ ัญชา ไม่มีก​ ารร​ วมศ​ ูนย์แ​ ละก​ ลุ่มแ​ ต่ละก​ ลุ่มม​ ี​ความเ​ป็นอ​ ิสระส​ ูงใ​นก​ ารด​ ำ�เนินง​ าน จึงม​ ีล​ ักษณะใ​หญ่แ​ ละห​ ลวม

ขบวนการโ​ลกต​ ้องม​ าก​ ่อนจ​ ึงเ​ป็นกล​ ุ่มป​ ระเด็นท​ างการเ​มือง (issue group politics) มากกว่าก​ ลุ่มผ​ ลป​ ระโยชนท์​ างการ​

เมือง (interest group politics) บน​พื้นฐ​ านข​ อง​จิตสำ�นึก​ของป​ ัจเจกบุคคล แสดงถ​ ึงก​ าร​รวมก​ ลุ่มแ​ บบห​ ลัง​สมัยใ​หม่

การด​ ื้อแ​ พ่ง (civil disobedience) และม​ ุ่งเ​น้นก​ ารเมืองเ​ชิงส​ ัญลักษณ์ (symbolic politics) และก​ ารเมืองเ​ชิงอ​ ิทธิพล
(politics of influence) เพือ่ เ​ปน็ การป​ ลกุ จ​ ติ ส�ำ นกึ แ​ ละก​ ระตุน้ ใ​หต​้ ระหนกั ถ​ งึ ป​ ญั หาส​ ิง่ แ​ วดลอ้ ม95 บทบาทข​ องข​ บวนการ​

จึง​มีแ​ นวโ​น้ม​ที่​เพิ่มม​ าก​ขึ้นใ​นป​ ัจจุบัน
ด้าน​ศาสนา​และ​ความ​เชื่อ ความ​แตก​ต่าง​ทาง​ศาสนา​และ​ความ​เชื่อ​ทำ�ให้​ขบวนการเ​คลื่อนไหว​ทาง​สังคม​ด้าน​
ศาสนา​และ​ความ​เชื่อ​ต่าง​มี​บทบาท​ที่​สำ�คัญ​ใน​การ​เผย​แพร่​และ​สร้าง​เครือ​ข่าย​ศาสนา​และ​ความ​เชื่อ ภาย​หลัง​จาก​ที่​มี​

ความ​พยายาม​ของ​ประเทศ​ตะวนั ​ตกใน​อดตี ​ท​พ่ี ยายาม​เผย​แพร​ศ่ าสนา​มา​หลาย​ศตวรรษ การ​เปดิ ​กวา้ ง​ใน​สมยั ​โลกา​ภ​วิ ตั ​น์ ​

ทำ�ให้ข​ บวนการเ​คลื่อนไหวท​ างส​ ังคม​ด้าน​ศาสนาแ​ ละค​ วาม​เชื่อ​มีก​ าร​เผยแ​ พร่ข​ ้าม​ประเทศ เช่น กรณีน​ าย​ มุน​ซอน​เมียง 

( ) นักการศ​ าสนาใ​นเ​กาหลีใต้ เผย​แพร่ค​ วาม​เชื่อใ​น​สหรัฐอเมริกา​และท​ ั่ว​โลก เป็นต้น การเ​ผย​แพร่ค​ วาม​เชื่อ​

ด้าน​ศาสนา​สมัย​ใหม่​ส่วน​หนึ่ง​ทำ�ให้​ต้อง​กำ�หนด​ยุทธวิธี​ด้วย​การ​สร้าง​สัมพันธ์​กับ​รัฐ​หรือ​เจ้า​หน้าที่​ของ​รัฐ​เพื่อ​อำ�นวย​

ความส​ ะดวกใ​นก​ ารด​ ำ�เนินก​ าร แตห่​ ากข​ บวนการศ​ าสนาแ​ ละค​ วามเ​ชื่อป​ ฏิเสธก​ ารเ​ข้าด​ ูแลข​ องร​ ัฐอ​ าจท​ ำ�ใหร้​ ัฐเ​ข้าจ​ ัดการ​
อย่าง​ใด​อย่างห​ นึ่ง โดยเ​ฉพาะอ​ ย่างย​ ิ่งห​ าก​ความเ​ชื่อม​ ีล​ ักษณะท​ ี่ท​ ้าทาย​อำ�นาจร​ ัฐ เช่น ความ​เชื่อ​ของ​ลัทธิ​โอม​ชิน​ริ​เคียว

( ) ที่ท​ ำ�ให้​ชาว​ญี่ปุ่นเ​สีย​ชีวิต​จำ�นวน 12 คน บาด​เจ็บ​กว่า 5,000 คน ภาย​หลังก​ าร​ปล่อย​แก๊ส​พิษท​ ี่​

ประกอบ​ด้วย​สาร​ไซ​ยา​ไนต์​ใน​สถานี​รถไฟ​ใต้ดิน ใน ค.ศ. 1995 หรือ​ความ​เชื่อ​จาก​ลัทธิ​ฝ่า​หลุ​นกง (  ) ทำ�ให้​
ชาว​ฮ่องกง​จำ�นวน​หนึ่ง​ใช้เ​ป็น​เครื่อง​มือ​ในก​ าร​ต่อ​ต้าน​การ​ปกครอง​ของ​สาธารณรัฐ​ประชาชน​จีน และ​ทางการ​ได้​ตอบโต้​
ด้วย​การ​จับกุม​ผู้​นับถือ​ภาย​หลัง​จาก​ท่ี​มี​การ​เผย​แพร่​เข้า​สู่​จีน และ​ลด​ความ​น่า​เช่ือ​ถือ​ด้วย​การ​เผย​แพร่​ภาพ​เด็กชา​วจี​น
ที่​นับถือ​ลัทธิ​เสีย​ชีวิต​จาก​ไฟ​ไหม้​ที่พัก​เพราะ​ฆ่า​ตัว​ตาย​ตาม​ความ​เชื่อ​ใน​ลัทธิ​นี้​ทาง​โทรทัศน์ เป็นต้น การก​ลับ​มา​ของ​
แนวคิด​แบบด​ ั้งเดิม (Fundamentalism) ของศ​ าสนา​บางศ​ าสนา ทำ�ให้เ​กิด​ความร​ ู้สึกถ​ ึง​ความแ​ ตกต​ ่าง​จาก​ความเ​ป็น​
อยู่​แบบเ​ดิม เช่น
การก​ลับ​มา​ของ​ศาสนาอ​ ิสลามแ​ บบ​ดั้งเดิม​ทำ�ให้​ประเทศห​ ลายป​ ระเทศ​ต่อต​ ้าน เช่น ฝรั่งเศส ที่ป​ ระธานาธิบดี​
และ​รัฐสภา​ให้​ความ​เห็น​ชอบ​ร่าง​กฎหมาย​ที่​ห้าม​เด็ก​นักเรียน​หญิง​มุสลิม​คลุม​ศีรษะ​อัน​เป็น​หลัก​ปฏิบัติ​ของ​ศาสนา​เข้า​
โรงเรียน ใน ค.ศ. 2004 เป็นต้น ทำ�ให้ร​ ัฐบาลแ​ ละข​ บวนการ​เคลื่อนไหว​ทาง​ศาสนา​อิสลามท​ ั่วโ​ลกต​ ่างต​ ่อต​ ้านน​ โยบาย​
ของ​รัฐบาล​ฝรั่งเศส เป็นต้น ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ทาง​สังคม​ด้าน​ศาสนา​และ​ความ​เชื่อ​จึง​นับ​เป็น​ตัว​แสดง​ที่​สำ�คัญ​ใน​
การส​ ร้างค​ วาม​ร่วมม​ ือ​หรือค​ วามข​ ัดแ​ ย้ง และ​มี​ผลกร​ ะ​ทบต​ ่อป​ ระเทศ​ใดป​ ระเทศ​หนึ่ง เพราะก​ ารน​ ับถือศ​ าสนาข​ อง​คน​
กลุ่ม​ใด​กลุ่ม​หนึ่ง​ใน​ประเทศ​หนึ่ง​ทำ�ให้​คน​กลุ่ม​นั้น​กลาย​เป็น​ชนก​ลุ่ม​น้อย และ​ทำ�ให้​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ทาง​สังคม​
ของ​ศาสนาแ​ ละ​ความเ​ชื่อน​ ั้น​เรียก​ร้องใ​ห้​มี​การ​เปลี่ยนแปลงท​ างการ​เมือง เศรษฐกิจ และ​สังคม​ของป​ ระเทศน​ ั้น จน​อาจ​
เป็น​ผล​ให้​มี​ความ​เปลี่ยนแปลง​ตาม​มา ดัง​ที่​เคย​ปรากฏ​ใน​ประเทศ​อิหร่าน​ที่​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​จาก​พระเจ้า​ชาห์​มา​เป็น​
อาย​ ะ​ตุลลอฮ์ โคมัยน​ ี (Ayatollah Khomeini) ใน ค.ศ. 1979 เป็นต้น
สรปุ การเ​ปลีย่ นแปลงข​ องส​ งั คมโ​ลกเ​ขา้ ส​ โู​่ ลกาภ​ ว​ิ ตั น​ ท​์ �ำ ใหอ​้ งคก์ ารพ​ ฒั นาเ​อกชนแ​ ละข​ บวนการเ​คลือ่ นไหวท​ าง​
สังคมต​ ่างม​ บี​ ทบาทเ​พิ่มข​ ึ้นท​ ั้งด​ ้านก​ ารเมือง เศรษฐกิจ และส​ ังคม โดยม​ กี​ ารนำ�​ประเด็นป​ ัญหาม​ าเ​ป็นต​ ัวข​ ับเ​คลื่อนค​ วาม​
เคลื่อนไหว เป็น​ที่น​ ่า​สังเกตว​ ่า​ความ​เกี่ยว​โยงแ​ ละค​ วามส​ ัมพันธ์ข​ องป​ ระเด็น​ปัญหา​แต่ละป​ ระเด็นท​ ำ�ให้​องค์การ​พัฒนา​
เอกชนแ​ ละข​ บวนการเ​คลือ่ นไหวท​ างส​ งั คมต​ า่ งเ​คลือ่ นไหวโ​ยงใยก​ บั ป​ ญั หาห​ ลายส​ ว่ นท​ เี​่ กีย่ วขอ้ ง เชน่ กลุม่ ส​ นั ตภิ าพเ​ขยี ว​

         95 See Timothy W. Luke. “Ecological Politics and local struggles: Earth First as an environmental resistence move-
ment.” Current Perspectives in Social Theory. 14 p. 241-267 และ​ไชยร​ ัตน์ เจริญ​สิน​โอฬาร อ้างแ​ ล้ว หน้า 18-27
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65