Page 57 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 57
องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-47
ด้านเศรษฐกิจ ปรากฏการณ์ในโลกาภ วิ ัตน ท์ ำ�ใหเ้กิดค วามเปลี่ยนแปลงในท ุกส ่วนท างเศรษฐกิจ ด้วยร ากฐาน
แนวคิดเสรีนิยมท างเศรษฐกิจ ทำ�ให้ม ีล ักษณะสำ�คัญค ือ เป็นการพ ึ่งพาอาศัยซ ึ่งกันและก ัน (Interdependence) ทาง
เศรษฐกิจ เกิดก าร บูรณาก ารท างเศรษฐกิจระหว่างป ระเทศ ทั้งด้านการค ้าและก ารลงทุน ดังก ารจ ัดต ั้งสถาบันทางการ
ค้าระหว่างป ระเทศ คือ องค์การการค ้าโลก (World Trade Organization: WTO) การเพิ่มบ ทบาทของสถาบันท าง
เศรษฐกิจท ี่มีอ ยู่เดิม คือ กองทุนก ารเงินร ะหว่างป ระเทศ (International Monetary Fund: IMF) เป็นต้น การเกิดข ึ้น
ของกลุ่มค วามร ่วมม ือท างเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค เช่น เอเปก (APEC) การจัดต ั้งเขตก ารค้าเสรี เช่น เขตก ารค้าเสรี
อเมริกาเหนือ (NAFTA) เขตก ารค ้าเสรีอ าเซียน (AFTA) กลุ่มค วามร ่วมม ือร ะดับอ นุภ ูมิภาค เช่น โครงการส ามเหลี่ยม
เศรษฐกิจของอ ินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย (IMT-GT) ตลอดจนก ารประชุมท ี่สำ�คัญ อาทิ การป ระชุมเวทีเศรษฐกิจ
โลก (World Economic Forum: WEF) ที่เริ่มประชุมตั้งแต่ ค.ศ. 1971 กลุ่มป ระเทศอุตสาหกรรมช ั้นน ำ� ซึ่งแต่เดิม
คือก ลุ่มป ระเทศ G-7 แต่ในปัจจุบันเป็น G-20 เป็นต้น และก ารเกิดร ะบบการผลิตระดับโลก
อรชุน อัปปาดูรัย (Arjun Appadurai) เสนอแนวคิดการไหลเวียนของโลกาภิวัตน์ที่มีความเกี่ยวข้องกับ
เศรษฐกิจใน 4 ด้านห ลัก คือ85 1) การไหลของค น ได้แก่ นักท ่องเที่ยว แรงงานอพยพ ผู้ลี้ภ ัย 2) การไหลข องเครื่องจักร
การผ ลิต โรงงาน 3) การไหลของท ุนในต ลาดก ารค ้าเงิน ตลาดห ุ้น และ 4) การไหลของภาพลักษณ์ (images) ข้อมูล
ข่าวสาร ซึ่งผลิตและกระจายโดยหนังสือพิมพ์ นิตยสาร โทรทัศน์ และภาพยนตร์ บรรษัทข้ามชาติได้อาศัยระบบ
เศรษฐกจิ แ บบเสรนี ยิ มแ สวงหาค วามม ัง่ คัง่ เปน็ อ ยา่ งม าก โดยเฉพาะอ ตุ สาหกรรมท เี่ กีย่ วขอ้ งก บั อ ตุ สาหกรรมข นาดใหญ่
และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำ�ให้บ รรษัทข ้ามช าติเป็นอ งค์การและส ถาบันท ี่ได้ร ับป ระโยชน์ม ากท ี่สุด การแพร่กระจาย
ของแ นวค ิดโลกาภ ิวัตน์ด้านเศรษฐกิจ ที่แ ฝงด ้วยค ่านิยมเพียงด ้านเดียว เช่น ลัทธิท ุนนิยม เป็นต้น ทำ�ให้ข บวนการ
เคลื่อนไหวทางสังคมจำ�นวนมากต่างปฏิเสธความมีอยู่จริงแนวทางเดียว เท่ากับเป็นการปฏิเสธกระแสหลักและ
โลกาภิวัตน ์ และแสวงหาทางเลือกท ี่หลากหลายในโลกาภ ิวัตน ์ (Alternative Globalization)
ตัวอย่างเช่น ขบวนการต่อสู้เพื่อความยุติธรรมของโลก (Global Justice Movement) เป็นขบวนการ
เคลื่อนไหวทางส ังคมท ี่ถ ือก ำ�เนิดจ ากป ัจจัยส ำ�คัญ คือก ารแ สดงออกข องข บวนการเคลื่อนไหวทางส ังคมในก ารต ่อต ้าน
ระบบทุนนิยมตั้งแต่ปลายทศวรรษ 1970 ต่อเนื่องถึงทศวรรษ 1980 ที่มีการประท้วงและนัดหยุดงานของคนงานใน
ประเทศห ลายป ระเทศ ทั้งส หรัฐอเมริกา เดนมาร์ก สเปน อิตาลี โปแลนด์ เป็นต้น และในทศวรรษ 1990 เช่น ฝรั่งเศส
เนเธอร์แลนด์ และป ระเทศโลกท ี่สาม เช่น อินเดีย เป็นต้น การเข้าสู่โลกาภ ิวัตน์กลับเป็นตัวกระตุ้นให้มีการป ระท้วง
ต่อเนื่อง จนนำ�มาสู่การต่อต้านจนกลายเป็นขบวนการต่อต้านโลกาภิวัตน์ ภายหลังการประชุมสถาบันทุนนิยมโลก
ที่เมืองซีแอตเติล สหรัฐอเมริกา ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1999 รวมถึงขบวนการเคลื่อนไหวอื่น เช่น ขบวนการ
เคลือ่ นไหวในก ารต อ่ ต า้ นส งคราม และเป็นท ีม่ าข องข บวนการต ่อสเู้พือ่ ค วามย ุตธิ รรมข องโลกเพื่อต ่อต า้ นร ะบบท นุ นยิ ม
ที่ม ีส ถาบันทางเศรษฐกิจข องโลกแ ละสหรัฐอเมริกาเป็นผ ู้ช ี้นำ�86
ขบวนการต่อสู้เพื่อความยุติธรรมของโลกประกอบด้วยขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่มีอยู่ทั่วโลก
และปรากฏในหลายประเทศ ทั้งขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่มีมาก่อน เช่น AFL-CIO ซึ่งเป็นเครือข่ายของ
สหภาพแรงงานของส หรัฐอเมริกา ขบวนการแรงงานไร้ท ี่ดิน (Movement of Landless Rural Workers: MST) ของ
บราซิล เป็นต้น และขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมร่วมส มัย เช่น ขบวนการซ าปาต ิสตา (Zapatista) ซึ่งเดิมเป็นกบฏ
ที่ต่อสู้กับรัฐบาลเม็กซิโก แต่ภายหลังการเซ็นสัญญาสงบศึกได้ยุติแปรเปลี่ยนเป็นขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม
85 ปรบั ปรงุ จ าก ดาร ณิ อนิ ทรเ์ หมอื น “หลงั ก ารล ม่ ส ลายข องส งั คมนยิ มท เี่ กดิ ข ึน้ จ รงิ ” ฟา้ เดยี วกนั ปที ี่ 1 ฉบบั ท ี่ 1 เดอื นม กราคม-เมษายน
2546 หน้า 149
86 ปิยะม ิตร ลีลาธ รรม “วิวาท ะแห่งอนาคต: ข้อถ กเถียงข องขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในส มัชชาส ังคมโลก 2547 (World Social
forum 2004)” ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2547 หน้า 137-148