Page 58 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 58
15-48 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ
ภายห ลังจ ากท ี่ร ัฐบาลล งน ามในข ้อต กลงป ระกาศจ ะต ั้งเขตก ารค ้าเสรีอ เมริกาเหนือ ใน ค.ศ. 1994 เป็นต้นม า ขบวนการ
เพื่อนข องโลก (Friend of Earth) ขบวนการพ ันธมิตรแ ห่งชาติข องประชาชน (The National Alliance of People’s
Movements) ในอินเดีย กลุ่มก ิจกรรมนักศึกษาที่เคลื่อนไหวต่อต้านโรงงานนรก (Sweatshops) เป็นต้น เป็นที่น่า
สังเกตว่าขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่ประกอบเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อความยุติธรรมของโลก มีทั้งด้านแรงงาน
ด้านที่ดิน ด้านส ิ่งแวดล้อม ด้านการศึกษา เป็นต้น
บทบาทของขบวนการเหล่านี้ปรากฏในประเทศของตนเอง เช่น ขบวนการซาปาติสตาที่เริ่มต้นจากการเป็น
ขบวนการช าวนาแ ละม ีบ ทบาทส ำ�คัญในก ารเมืองข องเม็กซิโกด ้วยว ัตถุประสงค์ท ี่ต ้องการส ร้างส ังคมใหม่ในป ระเทศท ี่
มีแต่ความเท่าเทียมกัน87 ขบวนการแ รงงานไร้ท ี่ดินข องบ ราซิลที่มีบ ทบาทในก ารป กป้องผ ลประโยชน์ของต นเอง เช่น
ที่ดิน พืช เป็นต้น จนท ำ�ให้เป็นอ งค์การท ี่ม ีบ ทบาทท างการเมืองในบ ราซิล88 การร วมก ลุ่มก ันข องพ ันธมิตรช าวนาช าวไร่
สหภาพแรงงาน นักศึกษา และน ักธ ุรกิจในโบลิเวียเพื่อข ับไลบ่ รรษัทข ้ามช าติข องส หรัฐอเมริกาที่ม ีบ ทบาทส ำ�คัญในก าร
ใหร้ ัฐบาลแ ปรรูปน ํ้า ใน ค.ศ. 2000 ที่ท ำ�ให้ค ่านํ้าแพงก ว่าป กตถิ ึง 4 เท่าเป็นผ ลส ำ�เร็จ89 ขบวนการพ ันธมิตรแ ห่งช าตขิ อง
ประชาชนแ ห่งอ ินเดียเพื่อต ่อต ้านก ารท ดลองก ารต ัดแ ต่งท างพ นั ธกุ รรมในพ ืช90 กลุ่มก จิ กรรมน กั ศกึ ษาท ีเ่คลื่อนไหวต ่อ
ต้านโรงงานนรก (Sweatshops) เพื่อต ่อต้านก ารใช้แ รงงานในพม่า91 เป็นต้น
ขบวนการต่อสู้เพื่อความยุติธรรมของโลก มีวัตถุประสงค์สำ�คัญในการสร้างประชาธิปไตยท ี่เน้นการมีส่วน
ร่วมการตัดสินใจในระดับรากหญ้า ความหลากหลาย (Diversity) ที่ประกอบด้วยโลกหลายใบ ไม่ใช่โลกใบเดียว
การกระจายอำ�นาจ (Decentralization) ที่เป็นการกระจายอำ�นาจการวางแผนการผลิต และเป็นการเพิ่มอำ�นาจให้
ชุมชน อธิปไตย ที่เป็นการก ำ�หนดการต ัดสินใจได้เองโดยไม่ต ้องพ ึ่งพาต ่างป ระเทศห รือบ รรษัทข ้ามข าต ิ และก ารเข้าถ ึง
(Access) ทรัพย์สิน ทรัพยากร ปฏิเสธการควบคุมทรัพย์สินของเอกชน92 เป็นต้น และเมื่อรวมกันเป็นขบวนการ
เคลื่อนไหวทางสังคมระดับระหว่างประเทศยังมีบทบาทสำ�คัญในการเปลี่ยนแปลงสังคมโลกหลายประการ เช่น การ
ล้มล้างค วามต กลงว ่าด ้วยก ารล งทุนหลายฝ ่าย (Multilateral Agreement on Investment: MAI) ใน ค.ศ. 2001
เป็นต้น และเวทีที่สำ�คัญสำ�หรับการประชุมของขบวนการต่อสู้เพื่อความยุติธรรมของโลกที่ประกอบด้วยสมาชิกที่มา
จากทั้งประเทศพัฒนาแล้วและกำ�ลังพัฒนา เพื่อเป็นพื้นที่สำ�หรับขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมระดับรากหญ้า คือ
เวทีสังคมโลก
การถ ือกำ�เนิดของเวทีส ังคมโลก (World Social Forum: WSF) ที่เป็นพื้นที่ในก ารพ บปะและร ่วมป ระชุมใน
การต อ่ ต า้ นล ทั ธเิ สรนี ยิ มใหมแ่ ละท นุ เขม้ ข น้ (Intensive Capitalism) ของข บวนการเคลือ่ นไหวท างส งั คมร ะดบั ร ะหวา่ ง
ประเทศ คือขบวนการต่อสู้เพื่อความยุติธรรมข องโลก ภายใต้แนวคิดโลกอีกใบห นึ่งที่เป็นไปได้ (Another World is
Possible) เพื่อส ร้างโลกาภ ิว ัตน ์ท างเลือก ด้วยการก ำ�หนดก ฎบัตรเวทีสังคมโลก (Charter of Principles) ที่มีเนื้อหา
สาระสำ�คัญประกอบด้วย การสร้างทางเลือกในโลกาภิวัตน์ที่เป็นเอกภาพ การเคารพสิทธิมนุษยชน การเคารพใน
ส ิทธิท างเพศในท ุกช นชาติ การให้ค วามส ำ�คัญก ับส ิ่งแ วดล้อม การป ระชุมท ุกป ีเริ่มต ั้งแต่ ค.ศ. 2001 เพื่อต ่อต ้านก ระแ ส
87 อภิวัฒน์ วิลาวดีไกร “ซาปาติสตา ขบวนการชาวนาเม็กซิโกยุคใหม่” ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-เมษายน 2546
หน้า 104-134
88 ประภาส ปิ่นตบแต่ง “MST ขบวนการแ รงงานไร้ท ี่ดินในช นบทของบ ราซิล” ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน-มิถุนายน
2546 หน้า 130-152
89 กองบ รรณาธิการ “ขบวนการป ระชาชนโลกเพื่อค วามยุติธรรม” ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 เดือนต ุลาคม-ธันวาคม 2546 หน้า 23
90 เพิ่งอ้าง หน้า 23
91 ปิยะม ิตร ลีลาธรรม “วิว าท ะแห่งอนาคต: ข้อถกเถียงของข บวนการเคลื่อนไหวท างสังคมในส มัชชาสังคมโลก 2547 (World Social
forum 2004)” อ้างแ ล้ว หน้า 138
92 กองบ รรณาธิการ “ขบวนการป ระชาชนโลกเพื่อความยุติธรรม” อ้างแล้ว หน้า 23