Page 55 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 55
องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-45
3. ทฤษฎีก ารก ีดกันเชิงส ัมพัทธ์ (relative deprivation theory) ความข ัดแ ย้งในการรับร ู้และการค าดห วัง
ของประชาชนในสังคมหนึ่งทำ�ให้เกิดช่องว่างระหว่างสถานการณ์ที่เป็นจริงกับความคาดหวังของประชาชนเป็นที่มา
ของขบวนการเคลื่อนไหวทางส ังคม79
4. ทฤษฎีการระดมทรัพยากร (resource-mobilization theory) การเคลื่อนไหว การดำ�รงอยู่ และความ
สำ�เร็จข องข บวนการเคลื่อนไหวท างสังคม มาจ ากห รือข ึ้นอยู่กับท รัพยากร ที่สำ�คัญคือ คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ และว ิธี
การ เป็นต้น80
5. ทฤษฎีสังคมมวลชน (mass society theory) ความรู้สึกแปลกแยก (alienation) ของบุคคลที่มาจาก
พัฒนาการท างการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม อย่างใดอย่างห นึ่งหรือท ุกอ ย่าง เป็นสาเหตุสำ�คัญที่ทำ�ให้คนต้องม ารวม
กันเป็นกล ุ่ม กลายเป็นที่มาของขบวนการเคลื่อนไหวท างสังคม81
6. ทฤษฎีขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมใหม่ (new social movement theory) เป็นทฤษฎีขบวนการ
เคลื่อนไหวท างส ังคมท ี่เกิดข ึ้นในท ศวรรษ 1980 เพื่ออ ธิบายป รากฏการณท์ างส ังคมย ุคห ลังอ ุตสาหกรรม (postindus-
trial societies) ที่ให้ค วามสำ�คัญก ับป ระเด็นป ัญหาใหม่ เช่น สิ่งแวดล้อม สิทธิมนุษยชน สิทธิของส ัตว์ สิทธิส ตรี การ
รักร ่วมเพศ การต ่อต ้านส งคราม คนช ายข อบ เป็นต้น ที่เป็นป ระเด็นป ัญหาท างส ังคมท ี่ไม่เคยม ีพ ื้นที่ให้ก ับค นก ลุ่มน ี้ใน
อดีต ความส ลับซ ับซ ้อนข องค วามข ัดแ ย้งช ุดใหม่ท ี่ม ีค วามเชื่อมโยงจ ากร ะดับท ้องถ ิ่น ระดับป ระเทศ และร ะดับร ะหว่าง
ประเทศ การที่ระบบการเมืองแบบเดิมไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ กลายเป็นประเด็นปัญหาใหม่และเป็นที่มาของการ
รวมก ันเป็นขบวนการเคลื่อนไหวท างสังคม82
ดังน ั้น ขบวนการเคลื่อนไหวท างส ังคมเป็นกล ุ่มห นึ่งท ี่ม ีค วามส ัมพันธ์ก ับส ังคม กลุ่มท างส ังคมในห ลากห ลาย
รูปแ บบ และสถาบันท างส ังคม ความห มาย ลักษณะ การถ ือกำ�เนิด ประเภท องค์ป ระกอบ ยุทธวิธี ผู้นำ� และพ ัฒนาการ
ทำ�ให้ข บวนการเคลื่อนไหวท างส ังคมแ ต่ละข บวนการม ีค วามเหมือนแ ละแ ตกต ่างก ัน ที่ส ่วนห นึ่งอ ธิบายด ้วยท ฤษฎี แต่
อีกส่วนหนึ่งอ ธิบายได้ด ้วยการปฏิบัติ ความเปลี่ยนแปลงสู่โลกาภิวัตน์นับเป็นส ่วนส ำ�คัญที่ทำ�ให้ข บวนการเคลื่อนไหว
ทางสังคมมีบ ทบาทสำ�คัญในป ัจจุบัน
ความเปลี่ยนแปลงในโลกเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ทำ�ให้ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมมีบทบาทด้านการเมือง
เศรษฐกิจ และส ังคม
ด้านก ารเมอื ง การเปลี่ยนผ า่ นข องส ังคมโลกจ ากช ่วงส งครามเย็น (ค.ศ. 1945-1989) เข้าส ูย่ ุคห ลงั ส งครามเย็น
(ค.ศ. 1990-ปัจจุบัน) จากก ารล ่มส ลายข องยุโรปตะวันอ อก ใน ค.ศ. 1989 การล่มสลายข องส หภาพโซเวียต ใน ค.ศ.
1991 เทา่ กบั เปน็ การย ตุ สิ งครามเยน็ ท เี่ ปน็ ค วามข ดั แ ยง้ ด า้ นอ ดุ มการณ์ และท �ำ ใหเ้ กดิ ค วามเปลีย่ นแปลงข องโลก จนโลก
ไม่อาจก ลับไปส ูค่ วามข ัดแ ยง้ ในร ปู แ บบเดิม ดังท ปี่ รากฏในผ ลง านช ื่อ การส นิ้ ส ดุ ข องป ระวตั ศิ าสตร์ (The End of Histo-
ry) ของฟ ร านซ สิ ฟกู ยู าม า (Francis Fukuyama) ทเี่ นน้ ว า่ ป ระชาธปิ ไตยแ ละท นุ นยิ มจ ะเปน็ ร ะบบส ดุ ทา้ ยข องม นษุ ยชาติ
และเข้าสู่โลกใหม่ด ังผลง านชื่อ คล่นื ล ูกท ี่ส าม (The Third Wave) ที่อธิบายพัฒนาการจากสังคมเกษตรกรรม สังคม
อุตสาหกรรม เปลีย่ นผ า่ นส ูส่ งั คมเทคโนโลยสี ารสนเทศในป จั จุบัน และป รากฏค วามข ดั แ ยง้ ด ังผ ลง านช ือ่ การป ะทะท าง
วฒั นธรรม (The Clash of Civilization) ของแซมมวล ฮันต ิงต ัน (Samuel Huntington) ที่เน้นก ารอธิบายก ารปะทะ
กันร ะหว่างอ ารยธรรมต ะวนั ต กข องค ริสตก์ บั อ าร ยธ รรมต ะวันอ อกข องอ ิสลามแ ละข งจือ้ โดยน ยั ห นึง่ เท่ากับเป็นช ยั ชนะ
79 Tim Curry Robert Jiobu and Kent Schwirian. op.cit. p. 427-430
80 Ibid. p. 427-430.
81 Ibid. p. 427-430.
82 ไชยร ตั น์ เจรญิ ส นิ โอฬาร ขบวนการเคลอ่ื นไหวท างส งั คมร ปู แ บบใหม่ ขบวนการเคลอ่ื นไหวป ระชาส งั คมในต า่ งป ระเทศ กรงุ เทพมหานคร
สำ�นักพ ิมพ์วิภ าษา 2540