Page 59 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 59
องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-49
โลกาภ ิวัตน ์ท ี่เอื้อให้แ ก่องค์การร ะหว่างประเทศ ที่สำ�คัญคือ ธนาคารโลก องค์การก ารค ้าโลก กองทุนการเงินร ะหว่าง
ประเทศ และธนาคารเพื่อก ารพัฒนาแ ห่งเอเชีย กลุ่มบ รรษัทธ ุรกิจ (Corporate Globalization) หรือบ รรษัทข้ามชาติ
เป็นหลัก การประชุมจึงม ีการจ ัดค ู่ขนานกับการประชุมเวทีเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum: WEF)93
ความแตกต่างของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่ประกอบเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อความยุติธรรมของโลก
ที่พบปะในเวทีส ังคมโลกแบ่งอ อกเป็นห ลายด ้านห รือหลายมิติ ทั้งด้านแรงงาน สิ่งแวดล้อม หรืออื่นใด หรือแบ่งอ อก
เป็นกลุ่มต่อต ้านทุนนิยม ทั้งก ลุ่มต่อต ้านก ลุ่มท ุนด้วยแ นวคิดท้องถิ่นน ิยม กลุ่มที่ต ่อต้านทุนนิยมด ้วยแ นวทางป ฏิรูป
กลุ่มต่อต้านทุนนิยมด้วยแนวทางการปกครองตนเอง ความแตกต่างด้านอุดมการณ์ที่ประกอบด้วยทั้งฝ่ายขวา ฝ่าย
เป็นกลาง และฝ ่ายซ้ายท ี่ม ีข บวนการเคลื่อนไหวท างส ังคม ที่ส ำ�คัญค ือ ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมท ี่เป็นขบวนการ
ระหว่างป ระเทศท สี่ ี่ (Fourth International) เป็นกล ุ่มท ีน่ ิยมท รอส กี้ และม อี งค์กรเคลือ่ นไหวท ีเ่ ขม้ แ ขง็ เช่น ในฝ รัง่ เศส
เป็นต้น และกลุ่มฝักใฝ่ส ังคมนิยมร ะหว่างป ระเทศ (International Socialist Tendency) ที่มีความเคลื่อนไหวใน
อังกฤษ ฝรั่งเศส เป็นต้น เพื่อเคลื่อนไหว เช่น การเลือกพ รรคแ รงงาน การต ่อต้านส งคราม เป็นต้น ความแ ตกต ่างของ
ขบวนการสังคมเหล่านี้ทำ�ให้การต่อสู้ ยุทธวิธีมีความแตกต่างกัน และทำ�ให้เกิดคำ�ถามภายหลังการต่อสู้บรรลุผลถึง
ทิศทางแ ละแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงท ี่จะมีขึ้นในอนาคต94
ด้านสังคม การเข้าสู่โลกาภิวัตน์ทำ�ให้มีความเปลี่ยนแปลงด้านสังคมที่ทำ�ให้ประเด็นปัญหาด้านสังคมกลาย
เป็นป ระเด็นด ้านการเมือง กล่าวอ ีกนัยหนึ่ง การเก็บกดป ิดกั้น ความเป็นอื่น และก ารผลิตซํ้าของร ัฐและอ งค์การห รือ
สถาบนั ร ะหวา่ งป ระเทศ ท�ำ ใหข้ บวนการเคลือ่ นไหวท างส งั คมม บี ทบาทอ ยา่ งจ �ำ กดั เพราะถ กู บ ดบงั ด ว้ ยค วามข ดั แ ยง้ ด า้ น
อุดมการณ์ ภายห ลังคว ามข ัดแ ย้งส ิ้นส ุดล งน ำ�มาส ูก่ ารป ลดป ล่อยป ระเด็นทีเ่คยถ ูกก ดท ับในอ ดีตก ลายเป็นป ระเด็นที่ม ี
ความส ำ�คัญม ากยิ่งขึ้น ซึ่งม ีผลต ่อพ รมแดนค วามร ู้และก ระบวนท ัศน์ (Paradigm) ต่อก ารศึกษาในท ุกสาขาว ิชาเป็น
อย่างย ิ่ง และแ สดงถ ึงก ระบวนท ัศนท์ ีย่ กร ะดับอ ีกข ั้นห นึ่ง (Paradigm Shift) ในก ารอ ธิบายป รากฏการณค์ วามส ัมพันธ์
ระหว่างป ระเทศที่เกิดข ึ้น ดังเช่น แนวคิดความส ัมพันธ์ระหว่างประเทศหลายประการ เช่น การพ ึ่งพาอ าศัยซ ึ่งก ันและ
กันท ี่ส ลับซ ับซ ้อน (Complex Interdependence) ของเคียวเฮนแ ละน าย (Keohane and Nye) ทำ�ให้ต ัวแ สดงท ี่ไม่ใช่
รัฐม ีพื้นที่และบ ทบาทในค วามส ัมพันธ์ระหว่างป ระเทศ ความเปลี่ยนแปลงในประเด็นความขัดแ ย้งท างสังคม ที่ส ำ�คัญ
เช่น สิ่งแ วดล้อม สิทธิมนุษยช น ศาสนา เพศ คนช ายข อบ เป็นต้น ที่ก ลายเป็นประเด็นท างการเมือง ทำ�ให้ขบวนการ
เคลื่อนไหวทางสังคมมีบทบาทที่ส ำ�คัญในช ่วงเวลาของความเปลี่ยนแปลงที่ส ำ�คัญ ในที่นี้ข อก ล่าวถึงเฉพาะขบวนการ
เคลื่อนไหวท างสังคมในด้านสิ่งแ วดล้อมแ ละด ้านศ าสนา
ด้านสิ่งแวดล้อม กลายเป็นประเด็นที่มีความสำ�คัญตามกระแสโลกที่มุ่งเน้นถึงการอนุรักษ์และการรักษา
ส ิ่งแวดล้อม ขบวนการเคลื่อนไหวท างสังคมท ี่ส ำ�คัญค ือขบวนการโลกต ้องม าก ่อน
ขบวนการโลกต้องมาก่อน (Earth First) เป็นขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่ถือกำ�เนิดในมลรัฐอริโซนา
สหรัฐอเมริกา ใน ค.ศ. 1980 ภายหลังจึงได้ขยายตัวไปทั่วประเทศและทั่วโลก วัตถุประสงค์สำ�คัญคือ การอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะป่าไม้ ที่ดินส าธารณะ และค วามห ลากห ลายท างช ีวภาพ เพื่อก ารร ักษาร ะบบน ิเวศน์ท าง
ธรรมชาติให้ด ำ�รงอ ยู่ต ลอดไป สมมติฐานค ือ มนุษย์เป็นส ่วนห นึ่งข องธ รรมชาติ ยุทธวิธีก ารด ำ�เนินง านค ือ การป ิดล้อม
การประท้วง เป็นต้น โดยมุ่งเน้นที่การดำ�เนินการของรัฐ เช่น การให้สัมปทาน การเข้ามาตัดไม้เองของรัฐ เป็นต้น
รัฐจึงจับกุมผู้นำ�หลายคน ทำ�ให้ผู้นำ�และขบวนการเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในการเป็นขบวนการเรียกร้องสิทธิแบบหนึ่ง
93 กนกรัตน์ เลิศชูสกุล “เหลียวหลัง แลหน้า เวทีสังคมโลก” ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2546 หน้า
108-129
94 ปิยะม ิตร ลีลาธ รรม “วิว าทะแ ห่งอนาคต: ข้อถกเถียงข องขบวนการเคลื่อนไหวทางส ังคมในสมัชชาส ังคมโลก 2547 (World Social
forum 2004)” อ้างแ ล้ว หน้า 137-148