Page 54 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 54

15-44 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ

            ชว่ ง​ทส​ี่ อง การ​เคล่ือนไหว​เพื่อ​ระดม​ทรัพยากร (resources mobilization) เป็นการ​ระดม​ทรัพยากร​ที​่
ส�ำคัญ ประกอบ​ด้วย คน เงิน วัสดุ​อุปกรณ์ และ​วิธี​การ​ด�ำเนิน​การ​เพ่ือ​สร้าง​ความ​ชอบ​ธรรม​ใน​การ​ด�ำเนิน​การ​ของ​
ขบวนการ และผ​ ู้น�ำจ​ ะเ​ป็นส​ ่วน​ส�ำคัญ​ในก​ าร​เคล่ือนไหว​ในก​ ารร​ ะดมท​ รัพยากร

            ช่วง​ท่​ีสาม การ​จัด​องค์การ (organization) เป็นการ​จัด​องค์การ​และ​โครงสร้าง เช่น สถาน​ที่​ต้ัง การ​
บังคับ​บัญชา การ​วางแผน​ก�ำลัง​คน กิจกรรม งบ​ประมาณ เป็นต้น

            ชว่ ง​ทส​่ี  ่ี  การ​สร้าง​ความ​เป็น​สถาบัน (institutionalization) เป็นการ​เปล่ียนแปลง​จาก​องค์การ​ให้​กลาย​
เป็นส​ ถาบัน​ทางส​ ังคมท​ ี่​มี​ความ​ต่อเ​นื่อง มี​ความ​เป็นป​ ึกแ​ ผ่น มี​ความส​ ามารถ​ในก​ าร​ปรับ​ตัว เป็นต้น

            ช่วง​ท​่ีห้า ช่วง​การ​ถดถอย​ของ​องค์การ​และ​ความ​เป็น​ไป​ได้​ใน​การ​ฟื้น​กลับ​มา​ของ​องค์การ (organiza-
tional decline and possible resurgence) เป็นการเ​ปลี่ยนแปลง​ท่ีส​ �ำคัญ​เพื่อใ​ห้ข​ บวนการเ​คลื่อนไหว​ทาง​สังคมไ​ป​
สู่​การ​สิ้นส​ ุดห​ รือด​ �ำรง​อยู่ไ​ด้​อย่างต​ ่อเ​นื่อง​ในส​ ังคม

       ทฤษฎีก​ ารเ​คลื่อนไหวท​ างส​ ังคม​ที่​สำ�คัญ​แบ่งอ​ อกเ​ป็น 6 ทฤษฎี ได้แก่
       1. 	 ทฤษฎีเ​งื่อนไขห​ ก​ประการ​ของ​ขบวนการเ​คลื่อนไหวท​ างส​ ังคม (Six condition for social movement)
ของ นีล ส​เมล​เซอร์ (Neil Smelser) ประกอบ​ด้วย77

            1.1 	การก​ อ่ ใ​ห​เ้ กดิ ป​ ญั หาท​ างโ​ครงสรา้ ง (structural conduciveness) เป็นเ​งื่อนไขท​ างส​ ังคมท​ ่ี​ส่งเ​สริมห​ รือ​
ขัดข​ วางก​ าร​รวม​กลุ่ม​เป็น​ขบวนการเ​คลื่อนไหว​ทาง​สังคม

            1.2 	ความ​ตึงเครียด​ทาง​โครงสรา้ ง (structural strain) เป็น​ความ​ขัด​แย้ง​ผล​ประโยชน์​ของ​กลุ่ม​ใน​สังคม​
ท่ีมาจ​ าก​ปรากฏ​ ​การณ์​ท้ังห​ ลาย​ใน​สังคม

            1.3 	ความ​เชอื่ ​ทว่ั ไป (general beliefs) ท�ำให​เ้ กดิ ​อทิ ธพิ ล​ของ​คน​กลมุ่ ​ใด​กลมุ่ ​หนงึ่ ​ท​ท่ี �ำให​ม้ ค​ี วาม​คบั ​ขอ้ งใจ​
จน​น�ำม​ าส​ ู่​ความ​ขัดแ​ ย้ง

            1.4 	ปัจจัย​ผลัก​ดัน (precipitate factors) เป็น​เหตุการณ์​หรือ​สถานการณ์​ที่​ท�ำให้​เกิด​การ​เคลื่อนไหว​ใน​
ทันที

            1.5 	กลมุ่ ​ประสานง​ าน (co-ordinating group) เป็นการ​รวมต​ ัว​ของ​ประชาชน​เพ่ือก​ ระท�ำก​ าร​อยา่ งใ​ดอ​ ย่าง​
หน่ึงท​ ่ีใ​ห้​ความ​ส�ำคัญก​ ับผ​ ู้น�ำแ​ ละ​การ​ติดต่อ​ส่ือสารป​ ระสานง​ าน

            1.6 	การ​ควบคุม​การ​ปฏิบตั ​ิทาง​สงั คม (operation of social control) เป็นการ​ควบคุม​การ​ปฏิบัติ​ของ
​เจ้า​หน้าท่ี​รัฐ​ที่ม​ ีต​ ่อ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ทาง​สังคม

       2. 	 ทฤษฎี​หลัก​ฐานท​ างป​ ระวัติศาสตร์ (Historicity) ขอ​งอแ​ ล็ง ตู​แรน (Alain Touraine) เป็น​ทฤษฎีท​ ี่​ให้​
ความ​สำ�คัญ​กับ​การ​เคลื่อนไหว​ของ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ทาง​สังคม​เป็น​ภาพ​สะท้อน​ทาง​อุดมการณ์​ของ​กลุ่ม​ทั้ง​หลาย​
ตาม​หลัก​ฐาน​ทางป​ ระวัติศาสตร์​ในส​ ังคมส​ มัยใ​หม่ เช่น ความไ​ม่เ​ท่าเ​ทียมก​ ันเ​รื่อง​ผิวเ​ป็น​ที่มาข​ อง​ขบวนการ​สิทธิ​มนุษย
ชน เป็นต้น การศ​ ึกษาจ​ ึงต​ ้องพ​ ิจารณาจ​ ากก​ ารท​ ีข่​ บวนการเ​คลื่อนไหวท​ างส​ ังคมเ​ป็นส​ ่วนห​ นึ่งข​ องส​ ังคม เพราะเ​ป้าห​ มาย​
และ​ผล​ประโยชน์​ของ​ขบวนการอ​ ยู่​ที่​สังคม และ​คู่ต​ รงข​ ้ามใ​นส​ ังคม เช่น ขบวนการ​ลูกจ้าง​ต้องพ​ ิจารณา​ที่​นายจ้างด​ ้วย
เป็นต้น78

         77 See (1) Neil Smelser. Theory of Collective Behavior. New York: Free Press 1963 (2) Anthony Gidden op.cit.
p. 626-627.	

         78 See (1) Alain Touraine. The Self-Production of Society. Chicago: University of Chicago Press, 1977 (2) Alain Tou-
raine. The Voice and the Eye: An Analysis of Social Movements. Cambridge: Cambridge University Press, 1981 (3) Anthony
Gidden. op.cit. p. 625-629.
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59