Page 51 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 51
องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-41
ประเทศแ ละร ะหว่างป ระเทศ เป็นต้น แต่ท ั้งก ลุ่มผ ลป ระโยชน์ กลุ่มก ดดัน และข บวนการเคลื่อนไหวท างส ังคมต ่างเป็น
ประชาสังคม (civil society) ที่มีน ัยของการรวมกลุ่มที่ม ีความรู้สึกร่วมในการเป็นเจ้าของ (sense of belonging)
ปัจจัยสำ�คัญที่นำ�มาสู่การเกิดขึ้นของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมคือ ปัญหาทางการเมือง เศรษฐกิจ
และสังคม ที่เป็นที่มาของความคับข้องใจ (frustration) ที่มาจากปัจจัยภายในหรือปัจจัยภายนอกที่ทำ�ให้มีความ
เปลี่ยนแปลง เป้าห มายข องก ารเป็นข บวนการเคลื่อนไหวท างส ังคมจ ึงม ที ั้งก ารต ่อต ้านก ารเปลี่ยนแปลงจ ากภ ายนอก70
หรอื ก ารม ุง่ เนน้ ก ารร กั ษาส ถานภาพเดมิ ในส งั คม หรอื ก ารม ุง่ เนน้ ก ารส รา้ งส งั คมใหมใ่หอ้ ยใู่ นด ลุ ยภาพข องอ งคป์ ระกอบ
เดิมกับก ารเข้าม าข องส ิ่งใหม่ หรือก ารมุ่งเน้นการสร้างส ังคมใหม่ในอ ุดมคติให้เป็นไปต ามที่ป รารถนา หรือก ารต่อต ้าน
การค รอบงำ�ด้านก ารเมือง (political domination) การต่อต ้านการครอบทางเศรษฐกิจ (economic domination)
และก ารต ่อต ้านก ารค รอบงำ�ส่วนบ ุคคล (personal domination) ของป ระชาชน71 เป็นต้น เป็นท ีน่ ่าส ังเกตว ่าป ระชาชน
ส่วนใหญค่ งไมป่ รารถนาเปลี่ยนแปลงส ังคมห ากไม่มปี ัญหาอ ย่างร ้ายแ รงแ ละร ุนแรง แตก่ ารม คี วามท ุกขร์ ้อนแ สนส าหัส
(shared grievances) ของป ระชาชนจ ะเป็นส าเหตสุ ำ�คัญป ระการห นึ่งท ี่น ำ�มาส ู่ก ารก ่อก ำ�เนิดข บวนการเคลื่อนไหวท าง
สังคม
ลักษณะก ารเคลื่อนไหวของข บวนการเคลื่อนไหวทางสังคมแ บ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การเคลื่อนไหวของ
ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่สนับสนุนส่งเสริมให้มีความเปลี่ยนแปลง (proactive social movement) เป็น
ขบวนการที่ม ุ่งเน้นก ารส นับสนุน ส่งเสริม หรือส ร้างความเปลี่ยนแปลงให้ม ีขึ้นในสังคม เพราะต ้องเผชิญก ับปัญหาที่
มีอ ยู่ในส ังคม และก ารเคลื่อนไหวข องข บวนการเคลื่อนไหวทางส ังคมท ี่ต ่อต ้านห รือป ฏิเสธก ารเปลี่ยนแปลงของส ังคม
(reactive social movement) เป็นข บวนการเคลื่อนไหวท างส ังคมแ นวอ นุรักษ์น ิยมท ี่ต ่อต ้านก ารเปลี่ยนแปลงเพราะ
การเปลี่ยนแปลงจ ะทำ�ให้สูญเสียผลป ระโยชน์ท ี่มีอยู่เดิม
ประเภทข องการเคลื่อนไหวของข บวนการเคลื่อนไหวทางส ังคม แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ72
1. การเคลื่อนไหวข องข บวนการเคลื่อนไหวท างส ังคมท ี่ม ุ่งเน้นก ารป รับเปลี่ยนส ังคมท ั้งหมด (transforma-
tive movement) เป็นการป รับเปลี่ยนท ี่มาจ ากก ารล ุกฮือข องป ระชาชนจ ำ�นวนม าก สนับสนุนก ารใช้ค วามร ุนแรง มี
ลักษณะเป็นการป ฏิวัติ
2. การเคลอ่ื นไหวข องข บวนการเคลอ่ื นไหวท างส งั คมท มี่ งุ่ เนน้ ก ารก อ่ ต วั ใหมข่ องส งั คมบ างส ว่ น (reformative
movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่มุ่งเน้นความเปลี่ยนแปลงในแบบแผนที่ดำ�รงอยู่ในสังคมบางประการ โดยเฉพาะ
ความอย ุติธรรมและความเสมอภ าค เป็นต้น
3. การเคลื่อนไหวของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่ทำ�ให้ประชาชนปลดเปลื้องจากพันธนาการในสังคม
(redemtive movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่อ ้างอิงอ ยู่กับห ลักศ าสนา ความเชื่อ ผู้นำ�ที่มีบ ารมี ต้องการให้ห ลุดพ้น
จากสังคมท ี่เป็นอยู่ เป็นต้น
4. การเคลื่อนไหวของข บวนการเคลื่อนไหวท างสังคมที่มุ่งเน้นทางเลือก (alternative movement) มุ่งเน้น
การป รับเปลี่ยนพ ฤติกรรมบางป ระการข องบุคคลเป็นสำ�คัญ
ประเภทก ารเคลือ่ นไหวข องข บวนการเคลือ่ นไหวท างส งั คมในก ารป รบั เปลีย่ นแ ละก ารก อ่ ต วั เปน็ การม ุง่ เนน้ ก าร
เปลี่ยนแปลงในร ะดับม หภาค ทีม่ หี น่วยว ิเคราะหท์ ีส่ ังคมแ ละก ารเคลื่อนไหวข องข บวนการท างส ังคมในก ารป ลดเปลื้อง
และทางเลือกมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงในระดับจุลภาค ที่ม ีหน่วยวิเคราะห์ที่ปัจเจกบุคคล
70 Henslin. op.cit. p. 594-595.
71 Stark. op.cit. p. 622-624.
72 See (1) David Aberle. The Peyote Religion Among the Navaho. Chicago: Aldine Press 1966 (2) Anthony Gidden.
op.cit. p. 625.