Page 48 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 48
15-38 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ
เพิ่มมาก และการตระหนักของประชาชนถึงความสำ�คัญของปัญหาที่มีแนวโน้มรุนแรงและส่วนหนึ่งเป็นปัญหาสากล
ที่ท ำ�ให้อ งค์การพ ัฒนาเอกชนม ีบ ทบาทส ำ�คัญ จนท ำ�ให้อ งค์การพัฒนาเอกชนกลายเป็นต ัวแ สดงสำ�คัญภ ายหลังจากที่
สหประชาชาติให้การยอมรับ ส่วนหนึ่งมาจากการปฏิบัติของรัฐบาลสหรัฐอเมริกาที่มีการแต่งตั้งกลุ่มชนชาติทั้งหลาย
ที่เป็นท ี่ปรึกษาแก่ค ณะผู้แ ทนสหรัฐอเมริกาท ี่เข้าร ่วมป ระชุมส หประชาชาติว ่าด้วยองค์การระหว่างประเทศ
ความส �ำ เรจ็ ข องอ งคก์ ารพ ฒั นาเอกชนท �ำ ใหอ้ งคก์ ารพ ฒั นาเอกชนบ างอ งคก์ ารม พี ฒั นาการเปน็ อ งคก์ ารร ะหวา่ ง
ประเทศแ ละอ งค์การอ าชีพ ในส ่วนอ งค์การร ะหว่างป ระเทศถ ือก ำ�เนิดภ ายห ลังจ ากท ีร่ ัฐบาลข องป ระเทศท ั้งห ลายให้การ
ยอมรับ ที่สำ�คัญคือ สหภาพบรรเทาทุกข์ระหว่างประเทศ (International Relief Union) สำ�นักงานข้าหลวงใหญ่ผู้
ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (United Nations High Commissioner for Refugees) และในส่วนขององค์การอาชีพ
(Professional Organizations) เกิดขึ้นจากการม ีวัตถุประสงค์เพื่อส นับสนุนกลุ่มว ิชาชีพเดียวกัน ด้านการเมืองและ
ความม ั่นคง เช่น สมาคมท หารผ่านศึกโลก (World Veterans Association) ด้านเศรษฐกิจ เช่น สภาห อการค้าร ะหว่าง
ประเทศ (International Chamber of Commerce) สำ�นักงานน ํ้าตาลร ะหว่างป ระเทศ (International Sugar Office)
ด้านส ังคม เช่น สหพันธ์ส มาคมน ักบินร ะหว่างป ระเทศ (International Federation of Airline Pilot’s Association)
สภาส หภาพว ิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ (International Council of Scientific Unions) เป็นต้น
การท สี่ งั คมโลกเขา้ ส โู่ ลกาภ วิ ตั น ท์ �ำ ใหค้ วามเปลีย่ นแปลงท ัง้ ด า้ นก ารเมอื ง เศรษฐกจิ และส งั คมม ผี ลต อ่ อ งคก์ าร
พัฒนาเอกชน โดยทำ�ให้องค์การพ ัฒนาเอกชนม ีบทบาทมากขึ้นในทุก ๆ ด้าน59
ด้านการเมือง องค์การพ ัฒนาเอกชนม ีบทบาทส ำ�คัญในการห ลายลักษณะ เช่น บทบาทข องค ณะกรรมการ
ลดอ าวุธนิวเคลียร์ (Committee for Nuclear Disarmament: CND) เพื่อเปลี่ยนแปลงนโยบายข องร ัฐให้มีก ารล ด
อาวุธในหลายประเทศ จนทำ�ให้ประธานาธิบดีโรนัลด์ รีแกน (Ronald Reagan) แห่งสหรัฐอเมริกาให้ความสำ�คัญ
กับการเจรจาเพื่อลดอาวุธ ภายหลังจากที่มีการชุมนุมต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์ทั้งในสหรัฐอเมริกาและยุโรป และนับ
เป็นการชุมนุมครั้งใหญ่ที่สุดข องป ระชาชน เป็นต้น ขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงของประเทศในย ุโรปตะวันออกภาย
หลังก ารล ่มส ลายข องคอมมิวนิสต์ใน ค.ศ. 1989 ทำ�ให้สหพันธ์ค รูอเมริกัน (American Federation of Teachers)
สหภาพแรงงานทั้งห ลายในส หรัฐอเมริกาและย ุโรปต ะวันต ก และส มาคมน ักก ฎหมายร ะหว่างป ระเทศ (International
Bar Association) ส่งค นข องต นเพื่อไปย ังป ระเทศในย ุโรปต ะวันอ อกเพื่ออ บรมส ั่งส อนป ระชาชนแ ละเยาวชนใหท้ ราบ
ถึงการดำ�เนินง านของส ถาบันประชาธิปไตย เป็นต้น
ดา้ นเศรษฐกจิ องคก์ ารพ ฒั นาเอกชนบ างแ หง่ ม บี ทบาทส �ำ คญั ในก ารพ ฒั นาเศรษฐกจิ เชน่ ความร ว่ มม อื ร ะหวา่ ง
มูลน ิธิฟ อร์ดกับร็อ กก ี้เฟลเลอร ์ในการให้ค วามช ่วยเหลือในการปฏิวัติเขียว (Green Revolution) ให้ก ับประเทศกำ�ลัง
พัฒนา การให้ทุนแก่ส ถาบันวิจัยข้าวระหว่างป ระเทศ (International Rice Research Institute: IRRI) ในฟิลิปปินส์
เพื่อใหป้ รับปรุงพ ันธุข์ ้าวร ะหว่างป ระเทศ ศูนยเ์กษตรกรรมเขตร ้อนร ะหว่างป ระเทศ (International Center of Tropi-
cal Agriculture) ในโคลัมเบีย ศูนย์ปรับปรุงพ ันธุ์ข้าวส าลีและข ้าวโพดระหว่างประเทศ (International Wheat and
Maize Improvement Center) ในเม็กซิโก สถาบันเกษตรกรรมเขตร ้อนระหว่างประเทศ (International institute
of Tropical Agriculture) ในไนจีเรีย เป็นต้น
ด้านส ังคม องค์การพ ัฒนาเอกชนม บี ทบาทส ำ�คัญในก ารพ ัฒนาส ังคม ตัวอย่างเช่น มูลน ิธฟิ อ ร์ด ซึ่งเป็นม ูลนิธิ
ที่ใหญ่ที่สุดในโลก เน้นการให้ความช่วยเหลือระหว่างประเทศด้านการพัฒนา ประชากรศึกษา และโครงการระหว่าง
ประเทศ มูลนิธิร ็อ กกี้เฟลเลอร์ให้ความช่วยเหลือในก ารพ ัฒนาโครงการด ้านการสาธารณสุข สุขภาพ ประชากร ชีวเคมี
และโภชนาการ นอกจากน ที้ ัง้ ส องอ งคก์ ารย งั ม กี ารป ระสานง านอ ยา่ งใกลช้ ดิ ก บั ห นว่ ยง านการพ ฒั นาร ะหวา่ งป ระเทศข อง
59 ปรับปรุงเนื้อหาส ่วนใหญ่ มาจ าก สมพงศ์ ชูมาก ความสัมพันธ์ระหว่างป ระเทศย ุคป ัจจุบัน (ทศวรรษ 1990 และแ นวโน้ม) อ้างแล้ว
หน้า 212-215