Page 44 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 44

15-34 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ

       บทบาทข​ องบ​ รรษทั ข​ า้ มช​ าตน​ิ บั เ​ปน็ ส​ ว่ นส​ �ำ คญั ท​ สี​่ รา้ งค​ วามเ​ปลีย่ นแปลงท​ างเ​ศรษฐกจิ เปน็ ผ​ ลท​ �ำ ใหร​้ ฐั ใ​หค​้ วาม​
สำ�คัญก​ ับ​ความพ​ ยายาม​ควบคุมบ​ รรษัทข​ ้ามช​ าติท​ ี่น​ ับต​ ั้งแต่ท​ ศวรรษ​ที่ 1990 มี​กระแสใ​นก​ ารค​ วบคุมบ​ รรษัทข​ ้าม​ชาติ​
ใน​รูป​แบบ​ใหม่​เพื่อ​สร้าง​ความ​เจริญ​ให้​กับ​ประเทศ​นั้น​ด้วย​การ​กำ�หนด​ให้​มี​ส่วน​ร่วม​ใน​การ​พัฒนา แต่​ความ​พยายาม​
ใน​รูป​แบบ​ใหม่​เป็นก​ระ​แส​จาก​ประเทศ​พัฒนา​แล้ว​ที่​กำ�หนด​ให้​ประเทศ​ที่​บรรษัท​ข้าม​ชาติ​เข้าไป​ลงทุน​ต้อง​ดำ�เนิน​การ​
อย่างไร​  เพื่อ​เป็นการ​ผูกมัด​ให้​ประเทศ​ที่​รับ​การ​ลงทุน​ต้อง​ส่ง​เสริม​การ​ลงทุน​ด้วย​การ​ให้​หลัก​ประกัน​ใน​การ​ลงทุน​ข้าม​
ชาติ ความพ​ ยายามด​ ังก​ ล่าวป​ รากฏ​ในร​ ูป​ของอ​ งค์การค​ วาม​ร่วม​มือท​ างเ​ศรษฐกิจแ​ ละ​การ​พัฒนา (Organization for
Economic Cooperation and Development: OECD) ที่​มี​การ​จัดท​ ำ�ความต​ กลงว​ ่าด​ ้วยก​ ารล​ งทุน​ระหว่างป​ ระเทศ​
หลาย​ฝ่าย (Multilateral Agreement on Investments: MAI) แต่​ความต​ กลงไ​ม่​ได้​รับ​การย​ อมรับ มี​การ​ต่อต​ ้าน​
จาก​ทั้ง​ประเทศ​พัฒนา​แล้ว​และ​ประเทศ​กำ�ลัง​พัฒนา​ที่​มี​ความ​คิดเ​ห็น​แตกต​ ่างห​ ลาก​หลาย ทำ�ให้​ความ​ตกลง​ว่า​ด้วยก​ าร​
ลงทุน​ระหว่าง​ประเทศ​ไม่เ​ป็น​ผลใ​นท​ ี่สุด55

       เป็นท​ ี่น​ ่าส​ ังเกตว​ ่าส​ หรัฐอเมริกาภ​ ายห​ ลังส​ งครามเ​ย็นซ​ ึ่งเ​ป็นม​ หาอำ�นาจข​ ั้วอ​ ำ�นาจเ​ดียวม​ ีบ​ ทบาทส​ ำ�คัญใ​นก​ าร​
สนับสนุน​การ​ลงทุน​โดยตรง​ใน​ต่าง​ประเทศ​ซึ่ง​เท่ากับ​สนับสนุน​บทบาท​ของ​บรรษัท​ข้าม​ชาติ ตั้งแต่​การ​ออก​กฎหมาย​
หลายฉ​ บับ เช่น The Hickenlooper amendment ซึ่ง​อนุญาต​ให้ส​ หรัฐอเมริกา​ตัดค​ วาม​ช่วย​เหลือก​ ับป​ ระเทศท​ ี่โ​อน​
กจิ การน​ กั ล​ งทนุ ส​ หรฐั อเมรกิ าเ​ปน็ ข​ องร​ ฐั โ​ดยไ​มม่ ก​ี ารช​ ดใชเ้​งนิ ท​ นุ กฎหมายก​ ารค​ า้ (Trade Bill) ทตี​่ ดั ส​ ทิ ธพิ​ เิ ศษท​ างการ​
ค้า (General System of Preferentation: GSP) กับ​ประเทศ​ที่​เวนคืนบ​ ริษัท​ของส​ หรัฐอเมริกา​โดยไ​ม่จ​ ่ายค​ ่า​ชดเชย
กฎหมาย​ที่​ปกป้อง​การ​ลงทุน​จาก​ต่าง​ประเทศ​มัก​เชื่อม​โยง​ผล​ประโยชน์​ใน​นโยบาย​ต่าง​ประเทศ​ของ​สหรัฐอเมริกา​เข้า​
ไว้​กับผ​ ลป​ ระโยชน์ข​ องบ​ ริษัท และห​ ลาย​ครั้งท​ ี่บ​ ริษัท​เหล่า​นี้​ไปไ​กล​กว่า​ด้วยก​ ารข​ อ​ให้​รัฐบาลส​ นับสนุนก​ าร​ต่อต​ ้านข​ อง​
บรรษัทต​ ่อป​ ระเทศห​ รือส​ ถาบันท​ ี่ไ​ม่เ​อื้อต​ ่อป​ ระโยชน์ต​ ่อบ​ รรษัทข​ องต​ นใ​นป​ ระเทศท​ ี่ร​ ับก​ ารล​ งทุน แม้ก​ ารอ​ อกก​ ฎหมาย​
หลายค​ รัง้ จ​ ะไ​ดด​้ �ำ เนนิ ก​ ารม​ าก​ อ่ นท​ ศวรรษ 1990 แตผ​่ ลข​ องม​ นั ก​ ลบั ม​ ค​ี วามช​ ดั เจนน​ บั ต​ ัง้ แตป​่ ลายท​ ศวรรษ 1980 เปน็ ตน้ ​
มา56 ตัวอย่าง​เช่น บริษัท​ผลิต​บุหรี่​ของ​สหรัฐอเมริกาบ​ ังคับใ​ห้ป​ ระเทศ​ใน​เอเชีย​หลาย​ประเทศ เช่น ประเทศไทย เปิด​
ตลาดส​ ินค้า​บุหรี่ เป็นต้น และ​มี​แนว​โน้ม​ที่​จะม​ ีค​ วามร​ ุนแรงม​ ากข​ ึ้น​เพราะถ​ ึง​แม้​การล​ ดก​ ำ�แพงภ​ าษีจ​ ะ​เพิ่มม​ าก​ขึ้น​ตาม​
ที่อ​ งค์การก​ ารค​ ้า​โลกบ​ ังคับ แต่​มาตรการ​กีดกันท​ างการค​ ้าท​ ี่​ไม่ใช่​ภาษี (Non-tarriff barrier) จะม​ ีบ​ ทบาท​เพิ่มม​ าก​ขึ้น

       ดัง​นั้น บรรษัท​ข้าม​ชาติ​ใน​กระ​แส​โลกา​ภิ​วัต​น์​จึง​มี​บทบาท​ด้าน​การเมือง เศรษฐกิจ และ​สังคม​เพิ่ม​มาก​ขึ้น​
ตาม​ลำ�ดับ โดย​มี​รัฐบาล​ของ​ประเทศ​ที่​เป็น​เจ้าของ​บรรษัท​ข้าม​ชาติ ที่​ส่วน​ใหญ่​เป็น​ประเทศ​ที่​พัฒนา​แล้ว โดย​เฉพาะ​
สหรัฐอเมริกา ต่างใ​ห้การส​ นับสนุนจ​ นม​ ีผ​ ลต​ ่อค​ วามร​ ่วมม​ ือแ​ ละค​ วามข​ ัดแ​ ย้งต​ ่อป​ ระเทศท​ ี่เ​ข้าร​ ับก​ ารล​ งทุนข​ องบ​ รรษัท​
ข้าม​ชาติ​ตามม​ า

         55 ประภ​ ัสสร์ เทพช​ าตรี อ้าง​แล้ว หน้า 52	
         56 See Joan Edelman Spero. op.cit. Chapter 8
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49