Page 40 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 40
15-30 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ
เรอ่ื งที่ 15.3.2
บรรษัทข้ามชาตใิ นยุคโลกาภวิ ตั น 4์ 3
โลกาภ ิวัตน ์ (Globalization) เป็นผลจากค วามเปลี่ยนแปลงใน 2 ส่วน คือ การขยายตัวของท ุน (Capital)
ภายหลังจากที่ประเทศในระบอบคอมมิวนิสต์ล่มสลาย และการขยายตัวของเทคโนโลยีการสื่อสาร (Telecommu-
nication) ที่มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) เป็นกลไกสำ�คัญในการขับเคลื่อนความ
เปลี่ยนแปลง นำ�มาส ู่ความเปลี่ยนแปลงใน 3 ด้าน คือ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ด้านก ารเมืองค ือการเน้นการมี
ส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน อันเป็นรากฐานสำ�คัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ด้านเศรษฐกิจคือ
การม ีร ะบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมเพื่อเปิดโอกาสให้ม ีก ารข ยายต ัวข องท ุน การแ ข่งขันอ ย่างเสรี และด ้านส ังคมค ือก าร
มุ่งเน้นคุณค่าของความเป็นม นุษย์ เป็นท ี่มาของก ารเน้นส ิทธิม นุษยชน (Human Rights) และก ารร ักษาสิ่งแวดล้อม
โลกาภิวัตน์จึงเป็นกระแสโลกที่เป็นกระบวนการแผ่ขยายครอบคลุมทั่วทั้งโลก ซึ่งเริ่มในทศวรรษที่ 1990 ภายหลัง
ความข ัดแย้งทางด้านอ ุดมการณ์สิ้นสุดลง
รากฐานสำ�คัญของแนวคิดโลกาภิวัตน์ด้านเศรษฐกิจมาจากลัทธิเสรีนิยมใหม่ (Neo-liberalism) ที่มุ่งเน้น
หลักก าร 3 ประการ ประกอบด้วย
1. เสรีภาพ (Freedom) ที่มีนัยต่อการลดบทบาทของรัฐที่เป็นสัญลักษณ์ของการบังคับภายในอันมีผลต่อ
การข าดเสรีภาพ และค วรเน้นบทบาทของเอกชนที่เป็นไปตามกลไกตลาดในก ารจัดสรรทรัพยากรอย่างมีดุลยภาพ
2. ความไ ม่เสมอภาค (Unequality) เพราะในค วามเป็นจริงไม่มีทางที่จ ะทำ�ให้ท ุกค นรวยเท่าก ัน แต่ม ุ่งเน้น
การให้สังคมส ่วนรวมด ี โดยที่ความเจริญเติบโตท างเศรษฐกิจจะเป็นต ัวขับเคลื่อนค วามเปลี่ยนแปลง และทำ�ให้คนที่
เสียเปรียบส ามารถปรับเปลี่ยนสถานภาพของต นให้ดีข ึ้นได้ ความคิดส ร้างสรรค์จ ึงเป็นส ิ่งที่จำ�เป็น ทำ�ให้ต ้องมีการจด
สิทธิบัตร เป็นต้น
3. ความยืดหยุ่น (Flexibility) ที่ม ุ่งเน้นก ารล ดข ้อจ ำ�กัด เพื่อเปิดโอกาสให้มีการล งทุนระหว่างประเทศเพิ่ม
มากข ึ้น และต้องไม่มีการป ระกันค ่าจ ้างแรงงาน เป็นต้น44
หลักก ารทั้ง 3 ประการน ำ�มาส ู่ป ระสิทธิภาพในก ารผลิตสินค้าและบริการอ ย่างย ืดหยุ่น ลัทธิเสรีนิยมใหม่เป็น
ที่มาของแ นวคิดก ารค ้าเสรี (Free Trade) ที่เป็นการล ดก ำ�แพงภาษีระหว่างประเทศสมาชิกและมีการสร้างเขตการค ้า
อย่างกว้างขวางทั่วโลกในทศวรรษ 1990 หลังจากที่ประชาคมยุโรปที่เริ่มใน ค.ศ. 1957 เปลี่ยนเป็นสหภาพยุโรปใน
ค.ศ. 1992 ตัวอย่างเช่น เขตก ารค้าเสรีอเมริกาเหนือ เขตการค้าเสรีอาเซียน เป็นต้น
ปัจจัยสำ�คัญที่ทำ�ให้บรรษัทข้ามชาติมีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นอย่างมากมาจากความ
สัมพันธ์ข ้ามชาติท ี่ม ีความสำ�คัญต ั้งแต่ท ศวรรษ 1970 ทำ�ให้ระบบเศรษฐกิจข องประเทศทั้งห ลายในโลกต ่างต้องมีการ
พึ่งพาอ าศัยซ ึ่งก ันแ ละก ันอ ย่างส ลับซ ับซ ้อน (Complex Interdependence) ทำ�ให้ก ารค ้าร ะหว่างป ระเทศเพิ่มป ริมาณ
มากข ึ้น ความไดเ้ปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) จึงเป็นส ิ่งท ี่ป ระเทศท ุกป ระเทศป รารถนา ทำ�ให้
ต้องมีการสนับสนุนการลงทุนจากต่างประเทศ ความเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์ทำ�ให้พรมแดนของบริษัทภายใน
ประเทศก ับบ รรษัทข ้ามชาติล ดลงแ ล้ว กิจกรรมระหว่างป ระเทศข ยายขอบข่ายก ว้างข วางออกไปอ ย่างม าก ทั้งด ้านก าร
ผลิต การบ ริการ เทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสาร การเงิน การโฆษณา การตลาด เป็นต้น
43 ธโสธร ตู้ท องคำ� อ้างแ ล้ว หน้า 14-23 ถึง 14-29
44 วร วทิ ย์ เจรญิ เลศิ “IMF และ WB กบั ก ารแ ปรรปู ส งั คมไทย” แปรรปู แ ปรเพือ่ ใคร เศรษฐศาสตรก์ ารเมอื ง (เพือ่ ช มุ ชน) กรงุ เทพมหานคร
บริษัทเอด ิส ันเพรส โปรดักส์ จำ�กัด 2543 หน้า 42-45