Page 37 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 37
องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-27
แล้ว อันเป็นที่มาข องทฤษฎีพ ึ่งพิง (Dependency Theory) ที่ให้ค วามส ำ�คัญแก่ความส ัมพันธ์ทางเศรษฐกิจท ี่ไม่เท่า
เทียมกันระหว่างประเทศพ ัฒนาแล้วก ับประเทศก ำ�ลังพัฒนา เป็นต้น
บทบาทของบรรษทั ข้ามช าตมิ ีมาต ั้งแตย่ คุ ส มยั ข องก ารล ่าอ าณานคิ ม ที่บรรษัทข า้ มช าตสิ ่วนใหญ่เปน็ เครอื่ งมอื
ของร ฐั ในก ารแ สวงหาค วามม ั่งคั่งแ ละผ ลป ระโยชนท์ างเศรษฐกิจ เช่น บรษิ ัทอ ินเดยี ต ะวนั อ อก (East India Company)
บริษัทบอมเบย์เบอร์ม า (Bombay Burma Company) ของอังกฤษ เป็นต้น ภายหลังส งครามโลกค รั้งที่ส องบ รรษัท
ข้ามช าติที่มีบทบาทท ี่สำ�คัญมาจ ากสหรัฐอเมริกา ด้วยการเป็นป ระเทศท ี่ม ีช ัยชนะในสงคราม การไม่ได้เป็นส มรภูมิใน
สงครามโลกค รั้งที่สอง แนวคิดเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ การที่มีบริษัทขนาดใหญ่และบรรษัทข้ามชาติเป็นจำ�นวนมาก
ทำ�ใหส้ หรัฐอเมริกาส นับสนุนก ารล งทุนไปท ั่วโลก บนค วามข ัดแ ย้งด ้านอ ุดมการณใ์นย ุคส งครามเย็น (ค.ศ. 1945-1989)
โดยในท ศวรรษ 1950 บรรษัทข้ามช าติได้อ าศัยเงื่อนไขของการบูรณะฟ ื้นฟูยุโรปจากแผนมาร์แชล (Marshall Plan)
ของสหรัฐอเมริกา ที่ใช้ง บป ระมาณก ว่า 17,000 ล้านด อลลาร์ส หรัฐฯ ในการแสวงหาตลาด วัตถุดิบ และผ ลป ระโยชน์
ในด้านอ ื่น
ความเสียหายจากสงครามโลกครั้งที่สองในยุโรปทำ�ให้ประเทศในยุโรปหลายประเทศต้องยอมปลดปล่อย
อาณานิคมให้เป็นประเทศเอกราชนับตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 1940 ทำ�ให้ธนาคารโลกที่สหรัฐอเมริกามีบทบาทชี้นำ�มี
บทบาทสำ�คัญในการฟื้นฟูประเทศในยุโรปที่เสียหายจากสงคราม หันมาให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาประเทศของ
ประเทศเอกราชใหม่ในเอเชียและแอฟริกาโดยส่วนใหญ่ รวมถึงประเทศในลาตินอเมริกาที่เป็นประเทศเอกราชเดิม
เพราะในทศวรรษที่ 1950 ภายใต้การแข่งขันด ้านอ ุดมการณ์ ประเทศเหล่าน ี้ม ีล ักษณะร่วมกันคือ ความย ากจน การม ี
คุณภาพช ีวิตท ี่ต ํ่าก ว่าม าตรฐาน และข าดค วามม ั่นคงท ั้งด ้านก ารเมือง เศรษฐกิจ และส ังคม รวมเรียกป ระเทศเหล่าน ี้ว ่า
ประเทศก �ำ ลงั พ ฒั นา การใหค้ วามช ่วยเหลือข องส หรัฐอเมริกาแ ละธ นาคารโลกม วี ัตถปุ ระสงคส์ ำ�คัญ เพื่อก ารส รา้ งค วาม
ทนั ส มยั ท�ำ ใหต้ อ้ งม กี ารพ ฒั นาด า้ นอ ตุ สาหกรรม ความเปน็ เมอื ง และค วามเปน็ ต ะวนั ต ก น�ำ มาส กู่ ารก �ำ หนดย ทุ ธศาสตร์
การพ ฒั นาป ระเทศด ว้ ยอ ตุ สาหกรรมเพือ่ ท ดแทนก ารน�ำ เขา้ (Import Substitution Industrialization: ISI) ในท ศวรรษ
1960 ในป ระเทศก ำ�ลังพ ัฒนา เช่น ไทย ฟิลิปปินส์ และก านา เป็นต้น และเปลี่ยนแปลงเป็นอ ุตสาหกรรมเพื่อก ารส ่งอ อก
(Export Oriented Industrialization: EOI) ในทศวรรษ 1970 ทำ�ให้ป ระเทศกำ�ลังพ ัฒนาหลายป ระเทศม ีก ารปรับ
เปลี่ยนยุทธศาสตร์การพัฒนา ทำ�ให้ทุนของญี่ปุ่นขยายตัวสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังนั้น การกำ�หนดยุทธศาสตร์
การพ ัฒนาเท่ากับเปิดโอกาสให้บ รรษัทข ้ามช าตมิ ีบ ทบาทส ำ�คัญในท างการเมือง เศรษฐกิจ และส ังคมข องป ระเทศก ำ�ลัง
พัฒนาเหล่าน ี้ จนก ล่าวไดว้ ่าน ับต ั้งแตท่ ศวรรษ 1950 และ 1960 รัฐบาลข องป ระเทศก ำ�ลังพ ัฒนาส ่วนใหญส่ นับสนุนก าร
ลงทุนจ ากต ่างป ระเทศ ทำ�ใหม้ กี ารส ร้างก ฎร ะเบียบ กติกา หรือห น่วยง านท ีเ่อื้อป ระโยชนต์ ่อก ารล งทุน และด ้วยน โยบาย
การส ่งเสริมก ารล งทนุ ข องป ระเทศก ำ�ลังพ ฒั นา การส นับสนุนใหบ้ รรษัทข า้ มช าตอิ อกไปล งทนุ ภ ายนอกป ระเทศท พี่ ัฒนา
แล้ว ทั้งสหรัฐอเมริกาและก ลุ่มป ระเทศย ุโรปตะวันต กที่ฟ ื้นต ัวภายห ลังสงครามโลกครั้งที่ส องในทศวรรษ 1950 และ
ญี่ปุ่นที่ฟื้นตัวในทศวรรษที่ 1960 ยุทธศาสตร์ก ารพัฒนาประเทศในท ศวรรษที่ 1960 และ 1970 ทำ�ให้บ รรษัทข้ามชาติ
มีบทบาทสำ�คัญในการลงทุนในประเทศกำ�ลังพัฒนา และนับเป็นส่วนสำ�คัญที่ทำ�ให้ประเทศกำ�ลังพัฒนามีอัตราความ
เจริญเติบโตท างเศรษฐกิจแ บบก ้าวก ระโดด หรือม อี ัตราค วามเจริญเติบโตท ีล่ ํ้าหน้าก ว่าค วามเจริญเติบโตข องเศรษฐกิจ
โลก บรรษัทข ้ามชาติจึงน ับเป็นต ัวแ สดงที่มีค วามส ำ�คัญในความส ัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตัวอย่างเช่น ใน ค.ศ. 1978
ผลิตภัณฑ์มวลร วมของโลกม ีจ ำ�นวน 1,886 ล้านบ าท ซึ่งม าจ ากบรรษัทข้ามชาติจ ำ�นวน 430 บรรษัท เป็นต้น
ในท ศวรรษ 1970 แมร้ ัฐบาลในป ระเทศก ำ�ลังพ ัฒนาห ลายป ระเทศต ่างม สี ่วนส ำ�คัญในก ารส นับสนุนก ารล งทุน
ที่ต ่อเนื่องจากท ศวรรษ 1960 แตค่ วามร ู้สึกช าตินิยมแ ละค วามไม่พ อใจในบ รรษัทข ้ามช าตขิ องน ิสิตน ักศึกษาป ัญญาชน
ทำ�ให้มองว่าบรรษัทข้ามชาติเป็นภัยคุกคามต่อความเป็นอิสระทางการเมืองและเศรษฐกิจ ในทางการเมืองคือการ
แทรกแซงท างการเมือง โดยบ างป ระเทศบ รรษัทข ้ามช าตปิ ระสบค วามส ำ�เร็จในก ารแ ทรกแซงก ารเมือง เช่น กรณขี องช ิลี