Page 41 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 41

องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-31

       การส​ ื่อสารท​ ี่​ทัน​สมัยท​ ำ�ให้​บรรษัท​ข้ามช​ าติ​มี​การแ​ ลกเ​ปลี่ยน​ข้อมูลส​ ารสนเทศ การบ​ ริหาร​จัดการ เทคโนโลยี​
สมัย​ใหม่​เข้า​ไว้​ด้วย​กัน ทำ�ให้​กิจกรรม​ทาง​เศรษฐกิจ​ทั้ง​ภายใน​ประเทศ​และ​ต่าง​ประเทศ​มี​ความ​เกี่ยว​พัน​และ​สัมพันธ์​
กัน​อย่าง​แยก​ไม่อ​ อก

       การ​ค้า​ระหว่าง​ประเทศ​ที่​เพิ่ม​มาก​ขึ้น​ส่ง​ผล​ต่อ​การ​ลงทุน​ระหว่าง​ประเทศ​ให้​เพิ่ม​สูง​ขึ้น​ตาม​ลำ�ดับ45 กล่าว​อีก​
นัย​หนึ่งป​ ริมาณก​ าร​ค้าท​ ี่​เพิ่มม​ ากข​ ึ้นใ​น​ช่วง ค.ศ. 1985-1994 เป็นการเ​พิ่ม​มากกว่าอ​ ัตรา​การเ​พิ่ม​ของ​ผลผลิตถ​ ึง 2 เท่า
ผลผลิต​ของโ​ลกเ​พิ่ม​ขึ้นถ​ ึง​ร้อย​ละ 5 ขณะท​ ี่​มูลค่าก​ ารค​ ้า​ระหว่างป​ ระเทศเ​พิ่มข​ ึ้น​ร้อยล​ ะ 946 และ​บรรษัทข​ ้าม​ชาติ​เป็น​
ส่วน​สำ�คัญ​ที่​อยู่​เบื้อง​หลัง​การ​ผลิต​และ​การ​ค้า​ระหว่าง​ประเทศ แม้ว่า​จะ​ไม่มี​การนำ�​มา​คิด​รวม​กับ​ประเทศ​ที่​เป็น​ที่​ตั้ง​
สำ�นักงานใ​หญห่​ รือป​ ระเทศแ​ ม่ เพราะถ​ ือว่าเ​ป็นการผ​ ลิตน​ อกด​ ินแ​ ดน (off-shore production) ก็ตาม การข​ ยายต​ ัวข​ อง​
การ​ค้าร​ ะหว่าง​ประเทศท​ ี่เ​พิ่ม​มาก​ขึ้น​นำ�​มาส​ ู่​การข​ ยายต​ ัวข​ อง​บรรษัทข​ ้าม​ชาติ ทำ�ให้​การล​ งทุนร​ ะหว่างป​ ระเทศโ​ดยตรง
(Foreign Direct Investment: FDI) เพิ่มป​ ริมาณม​ ากข​ ึ้น จากเ​ดิมใ​นท​ ศวรรษ 1960 การล​ งทุนร​ ะหว่างป​ ระเทศโ​ดยตรง​
ขยาย​ตัวเ​ร็วก​ ว่า​ผลิตภัณฑ์​มวล​รวม​ประชาชาติ 2 เท่า แต่ใ​นท​ ศวรรษ 1980 มี​การข​ ยาย​ตัว​มากกว่าถ​ ึง 4 เท่า และ​การ​
ขยาย​ตัว​มา​จาก​ยุโรป​และ​ญี่ปุ่น โดยเ​ฉพาะ​ใน​ช่วง​หลัง ค.ศ. 1985 จนถึง​ทศวรรษ 1990 มี​ทุนข​ ้าม​ชาติ​หลั่ง​ไหลอ​ อก​มา​
จาก​ประเทศเ​อเชียอ​ ื่นน​ อกจาก​ญี่ปุ่น และป​ ระเทศห​ รือ​ภูมิภาคท​ ี่​รองรับ​การ​ลงทุน​ที่ส​ ำ�คัญ​ประกอบ​ด้วย สหรัฐอเมริกา
ประเทศใ​นย​ ุโรป จีน เอเชียต​ ะวัน​ออกเ​ฉียงใ​ต้ และป​ ระเทศ​ใน​ลา​ติ​นอ​เมร​ ิกา47

       โลกาภ​ วิ​ ัตน​ ์จ​ ึงน​ ับเ​ป็นส​ ่วนส​ ำ�คัญใ​นก​ ารส​ ร้างค​ วามส​ ัมพันธ์ข​ ้ามช​ าตใิ​ห้ม​ โี​ครงข​ ่ายเ​ชื่อมโ​ยงก​ ันท​ ั่วโ​ลก แม้ว่าใ​น​
อดีตบ​ รรษัทข​ ้าม​ชาติจ​ ะม​ ีบ​ ทบาท​ที่​สำ�คัญ​อยู่​แล้ว แต่ภ​ าย​หลังก​ ลับ​มีค​ วาม​สำ�คัญเ​พิ่ม​มากข​ ึ้นไ​ปอ​ ีก ความส​ ลับซ​ ับ​ซ้อน​
มี​มาก​ขึ้น อาทิ ใน ค.ศ. 1975 บริษัท​ โต​โย​ต้า​ จำ�กัด​ ที่ม​ ีท​ ี่ต​ ั้ง​ส่วน​ใหญ่อ​ ยู่ใ​นญ​ ี่ปุ่น แต่ใ​น ค.ศ. 1995 มี​การข​ ยาย​กิจการ​
ไป​จนม​ ี​โรงงาน​ผลิต​ชิ้นส​ ่วน 9 แห่งใ​น 7 ประเทศ โรงงานป​ ระกอบ​รถยนต์ 29 แห่งใ​น 25 ประเทศ และศ​ ูนย์วิจัย​และ​
พัฒนา​ของป​ ระเทศ 2 ประเทศ48 เป็นต้น การข​ ยายต​ ัวข​ อง​บรรษัท​ข้ามช​ าติ​ที่​ทำ�ให้​บรรษัท​ข้าม​ชาติ​เติบ​ใหญ่​ควบคู่ก​ ับ​
ความเ​จริญเ​ติบโต​ทาง​เศรษฐกิจ​ที่​มีอ​ ัตราส​ ูง ทำ�ให้ส​ หประชาชาติป​ ระมาณก​ าร​ว่าต​ ั้งแต่ต​ ้นท​ ศวรรษ 1990 บรรษัท​ข้าม​
ชาติ​ทั่ว​โลก​มีจ​ ำ�นวน 35,000 บรรษัท ใน​ประเทศแ​ ม่แ​ ละ​ประเทศเ​จ้า​บ้าน​มี​เครือข​ ่าย​ต่าง​ประเทศ​รวมก​ ัน​กว่า 147,000
แห่ง และ​กว่า​ร้อย​ละ 85 ของ​บรรษัท​เหล่า​นี้​เป็น​ของ​ประเทศ​พัฒนา​แล้ว และ​ใน ค.ศ. 1991 บรรษัท​ข้าม​ชาติ​ที่​ใหญ่​
ที่สุดใ​นโ​ลกจ​ ำ�นวน 44 บรรษัทผ​ ลิตส​ ินค้า​ที่ม​ ีม​ ูลค่าร​ วมก​ ันป​ ระมาณ 2,008 พันล​ ้านด​ อลลาร์​สหรัฐฯ ซึ่ง​มี​จำ�นวน​เกือบ​
ร้อยล​ ะ 10 ของผ​ ลผลิต​ของท​ ั้ง​โลก49

       กิจการ​ของ​บรรษัท​ข้าม​ชาติ​ส่วน​ใหญ่​เป็น​กิจการ​ที่​มี​หลาย​ประเภท ที่​สำ�คัญ​คือ​กิจการ​ด้าน​การ​ทรัพยากร-
ธรรมชาติ ได้แก่ การห​ า​แหล่งข​ ุดเ​จาะ​ทรัพยากรธรรมชาติ คือ นํ้ามัน กิจการด​ ้าน​อุตสาหกรรม กิจการ​ด้าน​การบ​ ริการ
กิจการ​เหล่า​นี้​มี​ความ​สัมพันธ์​กับ​การ​ใช้​เทคโนโลยี​ทั้ง​ระดับ​กลาง​และ​ระดับ​สูง และ​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​เงิน​การ​ธนาคาร
การ​สารสนเทศ การ​ประกันภ​ ัย การขนส่ง เป็น​ที่​น่าส​ ังเกตว​ ่า​บรรษัทข​ ้ามช​ าติ​เหล่าน​ ี้​หากต​ ้อง​ใช้​เทคโนโลยีร​ ะดับ​สูงแ​ ล้ว
มักด​ ำ�เนินก​ ารใ​นป​ ระเทศพ​ ัฒนาแ​ ล้ว แต่ห​ ากเ​น้นก​ ารใ​ชเ้​ทคโนโลยรี​ ะดับก​ ลางล​ งไ​ปแ​ ล้ว มักด​ ำ�เนินก​ ารใ​นป​ ระเทศก​ ำ�ลัง​
พัฒนา และก​ าร​ลงทุน​ระหว่างป​ ระเทศ​ก่อ​ให้​เกิดก​ ารเ​ปลี่ยนแปลง​ในก​ าร​ผลิต​สินค้า​ระหว่าง​ประเทศ​ที่ใ​นส​ ินค้าห​ นึ่งช​ ิ้น​
อาจม​ โี​รงงานท​ ีผ่​ ลิตช​ ิ้นส​ ่วนเ​หล่าน​ ีต้​ ั้งอ​ ยูใ่​นป​ ระเทศห​ ลายป​ ระเทศ ทำ�ใหว้​ ิธกี​ ารใ​นก​ ารว​ ัดป​ ริมาณก​ ารผ​ ลิตส​ ินค้าร​ ะหว่าง​

         45 ธีร​ะ นุชเ​ปี่ยม การเมืองโ​ลกห​ ลัง​สมัย​ใหม่. กรุงเทพมหานคร บริษัท ศิลป์ส​ ยาม​บรรจุ​ภัณฑ์​และ​การพ​ ิมพ์ จำ�กัด 2541 หน้า 129-130
         46 Thomas D. Lairson and David Skidmore. International Political Economy: The Struggle for Power and Wealth
Forth Worth : Harcourt Brace College Publishers 1997 p. 109.	
         47 Ibid p. 114	
         48 Ibid p. 110-112	
         49 สมพงศ์ ชู​มาก ความส​ ัมพันธ์ร​ ะหว่าง​ประเทศ​ยุคป​ ัจจุบัน (ทศวรรษ 1990 และ​แนวโ​น้ม) อ้างแล้ว หน้า 167-168
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46