Page 36 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 36

15-26 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ

       ใน​ทาง​ลบ บรรษัทข​ ้ามช​ าติ​เป็นต​ ัวแทนข​ องล​ ัทธิจ​ ักรวรรดินิยมท​ ี่​มุ่ง​เน้นก​ าร​แสวงหาก​ ำ�ไรใ​ห้​มาก​ที่สุด​โดย​ไม่​
คำ�นึง​ถึง​ผล​ด้าน​สิ่ง​แวดล้อม และ​อยู่​ภาย​ใต้​การ​แสวงหา​ผล​ประโยชน์​ของ​ประเทศ​พัฒนา​แล้ว การ​แสวงหา​กำ�ไร​ของ​
บรรษัทข​ ้ามช​ าติ​มักใ​ห้ผ​ ลต​ อบแทนก​ ับ​แรงงานน​ ้อย และบ​ รรษัทข​ ้าม​ชาติ​มักใ​ช้​ความเ​ป็นห​ นุ่มส​ าว​ของค​ นง​ านท​ ำ�งานท​ ี่​
คน​วัย​อื่น​ทำ�​ไม่​ได้ เช่น การ​ผลิตไ​มโครช​ ิพค​ อมพิวเตอร์ เป็นต้น การจ​ ้างแ​ รงงานท​ ำ�ให้ค​ น​รุ่น​หนุ่ม​สาวต​ ่างย​ ้ายอ​ อก​จาก​
ชนบทแ​ ละเ​ข้าส​ ู่เ​มือง ทำ�ให้​หมู่บ้าน​ในป​ ระเทศ​กำ�ลัง​พัฒนาห​ ลาย​แห่งป​ ระกอบด​ ้วยค​ นช​ รา และเ​ป็นป​ ัญหา​และอ​ ุปสรรค​
ตอ่ ก​ ารพ​ ฒั นาช​ นบทเ​ปน็ อ​ ยา่ งม​ าก การต​ ัง้ บ​ รรษทั ข​ า้ มช​ าตเ​ิ ปน็ ผ​ ลใ​หม​้ ก​ี ารเ​ผยแ​ พรค​่ า่ น​ ยิ ม ความค​ ดิ วถิ ช​ี วี ติ แ​ บบท​ นุ นยิ ม
ตลาด ความ​เป็น​เมือง และ​มี​วัฒนธรรม​แบบ​บริโภค​นิยม (consumerism) และ​วัตถุนิยม (materialism) แต่​การ​มี​
รายไ​ดน​้ อ้ ยแ​ ตร​่ ายจ​ า่ ยม​ ากท​ เ​่ี ปน็ ผ​ ลจ​ ากค​ า่ น​ ยิ ม ท�ำ ใหเ​้ กดิ ป​ ญั หาส​ งั คมต​ ามม​ า เชน่ ปญั หาอ​ าชญากรรม ปญั หาย​ าเ​สพตดิ
เป็นต้น และ​หาก​ประเทศ​ที่​รับ​การ​ลงทุน​จาก​บรรษัท​ข้าม​ชาติ​มี​เศรษฐกิจ​ที่​ดีแตก​ต่าง​จาก​ประเทศ​เพื่อน​บ้าน นับ​เป็น​
แรงดึงดูด​สำ�คัญ​ที่ท​ ำ�ให้แ​ รงงาน​ที่​ผิดก​ ฎหมาย​หลั่ง​ไหล​เข้า​สู่ป​ ระเทศ​นั้น​เป็นอ​ ย่างม​ าก

       แนวคิดท​ ฤษฎี​ที่อ​ ธิบายบ​ รรษัท​ข้าม​ชาติท​ ี่ส​ ำ�คัญ ได้แก่ แนวคิด​ทฤษฎี​สัจนิยม แนวคิด​ทฤษฎีเ​สรีนิยม และ​
แนวคิด​ทฤษฎี​มาร์​ก​ซิสต4์ 0

       แนวคิด​ทฤษฎี​สัจนิยม (Realism) เป็น​แนวคิด​ทฤษฎี​ที่​มอง​ที่​รัฐ​เป็น​ตัว​แสดง​หลัก บรรษัท​ข้าม​ชาติ​เป็น​
เครื่อง​มือ​ของ​รัฐ​ใน​การ​ขยาย​อำ�นาจ​และ​เป็น​เครื่อง​มือ​สำ�คัญ​ของ​การ​ดำ�เนิน​นโยบาย​ต่าง​ประเทศ เพื่อ​สนอง​ตอบ​ต่อ​
ผลป​ ระโยชน์แ​ ห่งช​ าติ คือ ผลป​ ระโยชน์​ทางเ​ศรษฐกิจ​หรือค​ วาม​มั่งคั่ง ใน​ลักษณะ​เป็น​ผล​รวมเ​ท่ากับศ​ ูนย์ (Zero sum
game) กล่าว​อีก​นัย​หนึ่ง เนื่องจาก​การ​ค้า​และ​การ​ลงทุน​ระหว่าง​ประเทศ​เป็น​เครื่อง​มือ​สำ�คัญ​ใน​การ​สร้าง​ความ​มั่งคั่ง​
ให้ก​ ับป​ ระเทศ ดังน​ ั้น บรรษัท​ข้ามช​ าติจ​ ึงน​ ับเ​ป็นอ​ งค์การท​ ี่ส​ ำ�คัญ​ในก​ ารใ​ห้ป​ ระเทศบ​ รรลุถ​ ึงผ​ ลป​ ระโยชน์​แห่งช​ าติ ลัทธ​ิ
พาณิช​ย​นิยม (Mercantilism) จึง​เป็นล​ ัทธิ​ทางเ​ศรษฐกิจ​สำ�คัญ​ที่​เป็นท​ ี่มา​ของแ​ นวคิด​ทฤษฎีส​ ัจ​จนิ​ยม​จึง​ส่ง​เสริม​และ​
สนับสนุนบ​ ทบาท​ของบ​ รรษัท​ข้าม​ชาติใ​นก​ ารเ​ป็น​เครื่อง​มือ​ของ​รัฐใ​นก​ าร​แสวงหา​ผลป​ ระโยชน์แ​ ห่งช​ าติ

       แนวคิดเ​สรีนิยม (Liberalism) เป็น​แนวคิด​ทฤษฎี​ที่​มี​สมมติฐาน​ว่า มนุษย์​ทุก​คน​จะ​ได้​รับ​ประโยชน์​ร่วม​กัน​
จากผ​ ล​ประโยชน์ท​ ี่​สอดคล้อง​กัน ตัว​แสดงท​ ี่ส​ ำ�คัญ​คือ ปัจเจกบุคคล บริษัท หรือบ​ รรษัท​ข้ามช​ าติ บทบาท​ของ​บรรษัท​
ข้าม​ชาติ​จะ​เป็น​อิสระ​จาก​รัฐ ผล​ประโยชน์​ของ​บรรษัท​ข้าม​ชาติ​จะ​เป็น​ของ​บรรษัท​ข้าม​ชาติ​ไม่​เกี่ยวข้อง​กับ​รัฐ รัฐ​มีหน้า​
ที่​เพียงร​ ักษา​ความเ​ป็น​ระเบียบ​เรียบร้อยแ​ ละร​ ักษา​กฎหมาย (law and order) การ​ค้าเ​สรี​จะเ​ป็นป​ ระโยชน์​กับท​ ุกฝ​ ่าย
หากย​ ิ่งม​ ีก​ ารค​ ้าม​ ากก​ ็จ​ ะย​ ิ่งเ​ป็นป​ ระโยชนม์​ าก ระบบเ​ศรษฐกิจโ​ลกห​ ากเ​ป็นร​ ะบบเ​ศรษฐกิจแ​ บบเ​สรเี​พียงร​ ะบบเ​ดียว จะ​
ทำ�ให้​ระบบเ​ศรษฐกิจม​ ี​ประสิทธิภาพส​ ูงสุด เป็นการ​ประหยัดต​ ่อข​ นาด (economy of scale) และม​ ีก​ ารผ​ ลิตใ​นร​ ะดับ​
โลก (global production) และ​มี​ตลาด​ใน​ระดับโ​ลก (global market) แนวคิดเ​สรีนิยมจ​ ึง​สนับสนุน​และ​ส่ง​เสริม​ให​้
บรรษัทข​ ้าม​ชาติ​มี​บทบาท​สำ�คัญ​ใน​การค​ ้าร​ ะหว่างป​ ระเทศแ​ ละก​ าร​ ง​ทุน​ระหว่างป​ ระท​ ศ​ได้อ​ ย่าง​เสรี

       แนวคิด​ทฤษฎี​มาร์​ก​ซิสต์ (Marxism) มี​สมมติฐาน​สำ�คัญ​คือ ธรรมชาติ​ของ​โลก​มี​ความ​ขัด​แย้ง​กัน ความ​
ขัด​แย้ง​ที่​เกิด​ขึ้น​เป็น​ความ​ขัด​แย้ง​ทาง​ชนชั้น และ​บรรษัท​ข้าม​ชาติ​เป็น​เครื่อง​มือ​ของ​ชนชั้น​นายทุน​ใน​การ​แสวงหา​ผล​
ประโยชนแ​์ ละก​ ดขที​่ างเ​ศรษฐกจิ ใ​นค​ วามส​ มั พนั ธร​์ ะหวา่ งป​ ระเทศ ประเทศท​ รี​่ ํา่ รวยจ​ ะต​ กั ตวงผ​ ลป​ ระโยชนจ​์ ากป​ ระเทศท​ ​ี่
ยากจน เพื่อส​ นองต​ อบว​ ัตถุประสงคส์​ ำ�คัญค​ ือ การค​ รอบค​ รองโ​ลก รัฐแ​ ละบ​ รรษัทข​ ้ามช​ าตเิ​ป็นเ​ครื่องม​ ือเ​พื่อส​ นองต​ อบ​
ความต​ ้องการ​ของ​ชนชั้นน​ ายทุน ปรากฏการณ์​ของบ​ รรษัทข​ ้าม​ชาติใ​น​การเ​ป็นเ​ครื่อง​มือ​ของ​รัฐ​ในก​ าร​ครอบงำ�​ทาง​ด้าน​
เศรษฐกิจข​ อง​ประเทศ​ที่​อ่อนแอ​กว่า เป็น​ที่มา​ของท​ ฤษฎีจ​ ักรวรรดินิยม​ใหม่ (Neo-colonialism) ที่​ให้ค​ วามส​ ำ�คัญต​ ่อ​
การ​ครอบงำ�​ทางการ​เมือง เศรษฐกิจ และส​ ังคมม​ ากกว่า​การค​ รอบงำ�​ดิน​แดน อัน​เป็น​หลัก​คิดข​ อง​ทฤษฎีจ​ ักรวรรดินิยม​
แบบ​เดิม และ​ปรากฏการณ์​ของ​บรรษัท​ข้าม​ชาติ​ยัง​ได้​ทำ�ให้​เกิด​การ​พึ่ง​พิง​ของ​ประเทศ​กำ�ลัง​พัฒนา​ต่อ​ประเทศ​พัฒนา​

         40 ประภ​ ัสสร์ เทพช​ าตรี เอกสารป​ ระกอบ​คำ�บ​ รรยายเ​ศรษฐกิจ​การเมืองร​ ะหว่างป​ ระเทศ งานบ​ ริการเ​อกสาร​ทาง​วิชาการ คณะร​ ัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธ​ รรมศาสตร์ 2545 หน้า 4-11 และ 51-52
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41