Page 35 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 35
องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-25
คือ ความช อบธรรมข องบรรษัทข ้ามช าติในก ารมีส ่วนร ่วมท างการเมืองของประเทศเหล่าน ี้มากน้อยเพียงใด เนื่องจาก
เป็นก ิจการของต่างป ระเทศ
2. ด้านเศรษฐกิจ ในท างบ วก บรรษัทข ้ามชาติให้ผลประโยชน์ก ับประเทศที่ได้ร ับการล งทุนโดยการนำ�ทุน
จากต่างป ระเทศไหลเวียนเข้าไปในประเทศ นอกจากจ ะเป็นประโยชน์ต ่อการจ ้างแรงงานแล้ว ยังม ีการนำ�ทักษะห ลาย
ชนิดเข้าสู่ประเทศเหล่านี้ ที่สำ�คัญคือ ทักษะด้านการตลาดและความรู้เกี่ยวกับตลาดต่างประเทศ และผลผลิตหรือ
ผลิตภัณฑ์ท ี่สำ�คัญม ีผลต่อการส่งออกและการเพิ่มร ายได้ในรูปของเงินตราต ่างประเทศ ทำ�ให้ประเทศก ำ�ลังพัฒนามี
บทบาทส ำ�คัญในก ารเพิ่มส ัดส่วนในก ารค ้าร ะหว่างป ระเทศ ทดแทนก ารนำ�เข้าส ินค้าจ ากต ่างป ระเทศ และป ระหยัดก าร
ใช้เงินต ราจ ากต ่างป ระเทศ นอกจากน ี้ย ังเป็นการช ่วยก ารพ ัฒนาเทคโนโลยีด ้วยก ารถ ่ายทอดเทคโนโลยีให้ก ับป ระเทศ
กำ�ลังพัฒนา การฝึกอบรมพนักงานท้องถิ่นให้มีความรู้ในหน้าที่การงานและเทคโนโลยี การปรับปรุงการผลิตให้มี
ประสิทธิภาพ การบ ริหารการจ ัดการ การสร้างอาชีพให้กับค นในท ้องถ ิ่น บรรษัทข ้ามชาติจึงส ร้างความก้าวหน้าให้กับ
เศรษฐกิจ การแบ่งงานร ะหว่างประเทศ และการเสนอโอกาสในก ารค้าร ะหว่างประเทศ
ในทางลบ บรรษัทข้ามชาติมีบทบาทสำ�คัญในการควบคุมทรัพยากรธรรมชาติ เช่น การควบคุมนํ้ามันใน
ตะวันออกกลาง ทองแดงในชิลีแ ละแซมเบีย บอกไซต์ในจ าไมกาแ ละก ีอาน า การพึ่งพ ิงข องประเทศก ำ�ลังพ ัฒนาห ลาย
ประเทศที่มีต่อบรรษัทข้ามชาติที่แม้ว่าจะมีการโอนกิจการเป็นของรัฐบาล (Nationalization) แล้ว แต่การพึ่งพิงยัง
ปรากฏในร ูปข องก ารต ลาด การขนสง่ และว ัตถุดบิ เปน็ ต้น แสดงใหเ้ ห็นว า่ แ มใ้ นท างท ฤษฎี ประเทศท ไี่ดร้ บั ก ารล งทนุ จ ะ
สามารถค วบคุมบ รรษัทข ้ามช าติด ้วยว ิธีก ารท ี่ห ลากห ลาย เช่น การอ อกก ฎหมาย หรือก ารค วบคุมท างอ ้อมด ้านว ัตถุดิบ
แรงงาน และต ลาด แต่ในท างป ฏิบัติบ รรษัทข ้ามช าติเหล่าน ี้ควบคุมท ุน เทคโนโลยี ทำ�ให้เข้าถ ึงต ลาดข องป ระเทศก ำ�ลัง
พฒั นาได้ ตลอดจ นก ารม นี ักก ฎหมาย การม ผี ูเ้ ชี่ยวชาญในห ลากห ลายส าขา เปน็ ตน้ ทำ�ใหผ้ กู้ ำ�หนดน โยบายต ่างป ระเทศ
มคี วามย ากล ำ�บากในก ารก ำ�หนดน โยบายเพราะในข ณะท ีม่ คี วามต ้องการในก ารค วบคุมเพื่อส นองต อบต ่อผ ลป ระโยชน์
แห่งช าติด ้านเศรษฐกิจ แต่ก ็ต้องการไม่ให้ม ีก ารค วบคุมในล ักษณะท ี่เป็นอ ุปสรรคข ัดข วางก ารล งทุนเช่นเดียวกัน และ
ความร่วมมือของบ รรษัทข ้ามชาติก็เป็นเครื่องมือในการต ่อรองกับรัฐบาลข องป ระเทศกำ�ลังพ ัฒนาเช่นกัน
นอกจากน ี้ การลงทุนจ ากต ่างประเทศข องบ รรษัทข้ามช าติมักมาจ ากทุนภ ายในประเทศ และม ักม ีการแ ข่งขัน
กับบ ริษัทในท ้องถ ิ่น ทำ�ให้บ ริษัทท ้องถ ิ่นต ้องห ยุดก ิจการ การศ ึกษาเศรษฐกิจข องเม็กซิโกพ บว ่า ร้อยล ะ 43 ของบ รรษัท
ขา้ มช าตใิ นส หรฐั อเมรกิ าท ลี่ งทนุ โดยซ ือ้ บ รษิ ทั ท มี่ อี ยแู่ ลว้ ในเมก็ ซโิ ก การล งทนุ จ ากต า่ งป ระเทศจ งึ ใหม้ มุ ม องในท างก ลบั
กันท ี่ม ักเป็นการไหลอ อกข องเงินท ุนจ ากป ระเทศก ำ�ลังพ ัฒนาไปส ู่ป ระเทศพ ัฒนาแ ล้ว ส่วนเทคโนโลยีม ักม ีก ารผ ูกขาด
จากบรรษัทข้ามชาติของประเทศพัฒนาแล้ว และการใช้เทคโนโลยีระดับสูงในอุตสาหกรรมที่ใช้ทุนเข้มข้น (Capital
Intensive Industry) มากกว่าอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น (Labour Intensive Industry) ทำ�ให้แรงงานส่วน
ใหญ่ซ ึ่งมีท ักษะตํ่า (unskilled labour) ไม่ได้ร ับป ระโยชน์จากก ารล งทุนของบรรษัทข้ามชาติจ ากต ่างประเทศ ส่วนการ
ค้าข องบ รรษัทข ้ามช าตมิ ักเป็นการค ้าภ ายในร ะหว่างบ ริษัทในเครือ (intracompany trade) ระหว่างบ ริษัทแ มก่ ับบ ริษัท
สาขา บทบาทของบ รรษัทข้ามช าติจึงเท่ากับเป็นการเพิ่มก ารพ ึ่งพิงให้กับประเทศกำ�ลังพัฒนา
3. ด้านส ังคม ในด ้านบ วก การล งทุนข องบ รรษัทข ้ามช าตทิ ำ�ใหม้ กี ารนำ�ค่าน ิยมด ้านก ารท ำ�งานแ บบต ะวันต ก
เช่น การท ำ�งานห นัก ความร ับผ ิดช อบในก ารท ำ�งาน เป็นต้น เข้าส ูส่ ังคมแ ละว ัฒนธรรมข องป ระเทศกำ�ลังพ ัฒนา บรรษัท
ข้ามช าตเิ สมือนเป็นต ัวเรง่ ใหเ้ กดิ ค วามเปลี่ยนแปลงท �ำ ใหส้ ังคมเขา้ ส ูค่ วามท ันส มยั อ ย่างม ปี ระสิทธิภาพแ ละป ระสทิ ธผิ ล
นอกจากนี้เมื่อบรรษัทข้ามชาติตั้งอยู่ในประเทศใดเป็นเวลาอันยาวนาน มักมีการจัดตั้งมูลนิธิเพื่อสนับสนุนงานด้าน
สังคม เช่น มูลนิธิโตโยต ้าป ระเทศไทยท ี่ให้การส นับสนุนก ารพ ัฒนาง านว ิชาการ เป็นต้น แม้ในด ้านห นึ่งจ ะเป็นการส ร้าง
ภาพลักษณ์ (image) ของบรรษัทก ็ตาม