Page 43 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 43
องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-33
ฮอลลีวู้ด ซึ่งเป็นศ ูนย์กลางก ารผ ลิตอ ุตสาหกรรมภาพยนตร์มีการขยายต ัวไปย ังแหล่งอ ื่น หรือการผลิตร ถยนต์ท ี่เคย
มีศ ูนย์กลางอยู่ที่ด ีทรอย สหรัฐอเมริกา แต่ภ ายห ลังส งครามโลกค รั้งท ี่ส องมาอ ยู่ท ี่ญ ี่ปุ่น แต่ในทศวรรษ 1990 เป็นต้น
มาการผลิตก ระจายไปยังป ระเทศหรือท้องถ ิ่นอื่น เช่น จีน อินเดีย สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย เป็นต้น อันเป็นกร ะบ วนก าร
ในการผลิตหลังส มัยฟ อร์ด (post-Fordism) ที่เน้นความก ้าวหน้าข องเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ และเป็นการ
ประหยัดต ่อข นาด (economy of scale)54 ที่ม ีก ารผ ลิตจ ำ�นวนม ากย ่อมท ำ�ให้ม ีก ารป ระหยัดต่อห น่วยผ ลผลิต เป็นต้น
กระแสโลกาภิวัตน์ทำ�ให้บรรษัทข้ามชาติมีบทบาทมากขึ้นและทำ�ให้การคลาดมีบทบาทในการครอบงำ�รัฐ
ท ั้งทางด้านก ารต ัดสินใจ นโยบายสาธารณะ หรือความเปลี่ยนแปลงอื่นใดที่เกิดข ึ้นภายในรัฐ บรรษัทข้ามชาตินับเป็น
ส่วนสำ�คัญในการสร้างความเข้มแข็งของรัฐด้านการจัดหาเทคโนโลยี ทุน อันเป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ
เศรษฐกิจ โดยเฉพาะด้านก ารค้าและอุตสาหกรรม และด ้านสังคม ที่ม ุ่งเน้นก ารส่งเสริมสวัสดิการ สวัสดิภาพ เช่น การ
กีฬา หรือ กิจกรรมส าธารณประโยชนท์ ั้งห ลาย อาทิ การจ ัดต ั้งเป็นม ูลนิธิ เป็นต้น ความส ำ�คัญข องบ รรษัทข ้ามช าตทิ ำ�ให้
รัฐต ้องแ สวงหาค วามร ่วมม ือก ับบ รรษัทในล ักษณะข องก ารเป็นพ ันธมิตรห รือห ุ้นส ่วนอ ย่างส ำ�คัญย ิ่ง ทีเ่ป็นล ักษณะข อง
การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันอย่างสลับซับซ้อน (Complex interdependence) เพื่อขับเคลื่อนความเปลี่ยนแปลง
ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของแต่ละประเทศ ดังที่ปรากฏในการทูตแผนใหม่ (new diplomacy) ที่มุ่งเน้น
ความส ัมพันธ์ในก ารเป็นพ ันธมิตรในทางธ ุรกิจ การค ้า และอ ุตสาหกรรม ที่เป็นหุ้นส ่วนร ะหว่างกัน นอกเหนือจากก าร
เป็นพ ันธมิตรท างธุรกิจ (strategic business alliance) ของบ รรษัทข ้ามชาติเหล่าน ี้
ความคล่องตัวในการเคลื่อนย้ายยังแสดงถึงการเข้ามีบ ทบาทในการเข้าโจมตีค่าเงินในเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้ใน ค.ศ. 1997 ทำ�ให้เกิดว ิกฤตการณ์ท างเศรษฐกิจในภ ูมิภาค และก ารร ับค วามช ่วยเหลือข องกองท ุนก ารเงินร ะหว่าง
ประเทศย ิง่ เทา่ กบั เปน็ การเปดิ โอกาสใหบ้ รรษทั ข า้ มช าตติ า่ งม บี ทบาทส �ำ คญั ในก ารเขา้ แ ทรกแซงก จิ การภ ายใน ดว้ ยห ลกั
การความม ีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (Stabilization) การเปิดเสรีท างเศรษฐกิจ (Liberalization) การล ดก ฎร ะเบียบ
ข้อบ ังคับ (Deregulation) และก ารแ ปรรูปร ัฐวิสาหกิจ (Privatization) ทำ�ใหบ้ รรษัทข ้ามช าตติ ่างเข้าม าม บี ทบาทส ำ�คัญ
ในการซื้อขายกิจการหรือทรัพย์สินของกิจการในราคาตํ่า ทำ�ให้วิกฤตการณ์ที่ประเทศแต่ละประเทศเผชิญอยู่แล้วมี
ความหนักห น่วงม ากยิ่งขึ้น ดังเช่น ประเทศไทยแ ละอ ินโดนีเซีย และจากป ระสบการณ์ของประเทศลาตินอเมริกาเคย
ได้ร ับความช่วยเหลือจากกองทุนก ารเงินร ะหว่างประเทศในทศวรรษ 1980 เม็กซิโกในทศวรรษ 1990 นิการ ากัว และ
เวเนซูเอลา ทำ�ให้บรรษัทข ้ามช าติข องสหรัฐอเมริกา คือ ธนาคารในก รณีเม็กซิโก และบ ริษัทน ํ้ามันในกรณีเวเนซูเอลา
ต่างแ สวงหาผลป ระโยชน์อย่างเต็มที่
แนวค วามค ดิ ย คุ โลกาภ วิ ตั น ห์ ลายแ นวคดิ น บั เปน็ ส ว่ นส �ำ คญั ท สี่ ง่ เสรมิ ใหบ้ รรษทั ข า้ มช าตมิ บี ทบาทต อ่ ก ารเมอื ง
การปกครองแ ละก ารบริหารของรัฐ ตัวอย่างเช่น แนวคิดปฏิรูประบบราชการตามแ นวทางก ารปฏิรูปร ะบบราชการของ
สหรัฐอเมริกา (Reinventing Government) แนวคิดก ารลดความเป็นร าชการ (Debureaucratization) แนวคิดการ
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization) เป็นต้น ที่ต ั้งอยู่บนพื้นฐานการทำ�ให้ร าชการมีขนาดเล็กล ง ทำ�ให้บรรษัทข้ามชาติ
มีบทบาทในการเข้าควบรวมหรือซื้อกิจการที่เคยเป็นของรัฐบาลหรือสาธารณะมาเป็นกิจการของตนเอง เช่น ประปา
ไฟฟ้า โทรศัพท์ รวมถึงการบริหารจัดการนํ้า หากกฎหมายขาดความรัดกุมหรือเอื้อประโยชน์ให้กับบรรษัทข้ามชาติ
อาจนำ�มาสู่ก ารต่อต้านแ ละก ารใช้ความรุนแรง ตัวอย่างเช่น ประเทศในลาตินอเมร ิกาอย่างเปรูและอาร์เจนตินา ทำ�ให้
บรรษัทข้ามชาตินอกจากจะเป็นอุปสรรคสำ�คัญในการขัดขวางความมั่นคงทางเศรษฐกิจแล้ว ยังเป็นอุปสรรคสำ�คัญ
ต่อความม ั่นคงมนุษย์ (human security) ความม ั่นคงทางการเมือง ที่แสดงถึงความเป็นจ ักรวรรดินิยมข องประเทศ
ที่เป็นเจ้าของบ รรษัทข ้ามชาติ
54 เพิ่งอ ้าง หน้า 87-89