Page 22 - เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
P. 22
14-12 เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
ภาพท ี่ 14.7 เปน็ ต วั อยา่ งข องบ นั ทกึ ด ว้ ยภ าพถา่ ย ขอ้ ดขี องก ารบ นั ทกึ ในล กั ษณะน คี้ อื ผ เู้ รยี นส ามารถเหน็ ท า่ ทาง
ไดช้ ดั เจนก วา่ ก ารท อ่ งจ�ำ บทกลอนแ ละภ าพว าดล ายเสน้ แตย่ งั ค งม ขี อ้ จ �ำ กดั อ ยหู่ ลายป ระการ เชน่ 1) ภาพถา่ ยไมส่ ามารถ
แสดงให้ถึงค วามเชื่อมต ่อจ ากท่าทางห นึ่งไปยังอ ีกท ่าทางห นึ่งได้ 2) อวัยวะบ างส ่วนอ าจจ ะถ ูกบ ทบังจากมุมกล้องได้
2.4 การบ นั ทึกเป็นลายล ักษณอ์ กั ษร ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2466 โดยโปรดเกล้าฯ ให้ก รมก ารหอพ ระสมุด
วชิรญ าณฯ ได้แก่ สมเด็จฯ กรมพ ระยาด ำ�รงร าชาน ภุ าพ เป็นป ระธานผ ูร้ วบรวมแ ละเรียบเรียงจ ากข ้อมูลท ีม่ อี ยู่ ทั้งภ าษา
ไทยแ ละภ าษาต ่างป ระเทศ และได้ม ีพ ระร าชด ำ�รัสให้พ ระยาธ รร มาธิก รณาธิบ ดี เสนาบดีก ระทรวงว ัง ซึ่งบ ัญชาการก รม
ศิลปากรก ับเจ้าพระยาร าม ราฆพ ผูส้ ำ�เร็จร าชการม หาดเล็ก ซึ่งบ ัญชาการก รมม หรสพ เป็นผ ูใ้หค้ วามช ่วยเหลือ โดยแ บ่ง
เนื้อหาของการบ ันทึกออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนต ำ�นานก ารฟ ้อนรำ� ตอนต ำ�รารำ�ของไทย และตอนภาพถ่ายท ่ารำ�แม่บท
ใหญ่ ทั้งนี้เจ้าพระยาร าม ราฆพได้ให้พ ระย านัฎ ก าน ุรักษ์ ครูละครห ลวง เป็นผ ู้เลือกศ ิลปินละครแ ละโขนก รมม หรสพ
ขณะน ัน้ เปน็ ผ แู้ สดงแ บบท า่ ร �ำ ไดแ้ ก่ นายว ง กาญจ นว จั น แสดงแ บบท า่ ร �ำ ตวั พระ และน างสาวเสงีย่ ม นาวเี สถยี ร นางเอก
ภาพยนตร์ค นแรกข องไทย แสดงแ บบท ่าร ำ�ตัวนาง ภาพเหล่าน ี้ไม่ได้เรียงล ำ�ดับท ่าร ำ�ตามบทกลอนต ำ�ราร ำ�
ภายห ลังสงครามโลกค รั้งท ี่ 2 ได้มีการจ ัดตั้งส ถาบันก ารศ ึกษาทางด้านนาฏศิลป์โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2477
ความต ื่นตัวในก ารฟ ื้นฟูแ ละอนุรักษ์ศ ิลปะก ารร่ายรำ�เพื่อก ารศึกษาแ ละก ารอาชีพ เป็นส่วนส ำ�คัญที่ก่อให้เกิดก ารเก็บ
รักษาท ่าร ่ายร ำ�ต่าง ๆ ไวด้ ้วยก ารเขียนเป็นล ายล ักษณ์อ ักษร จะเห็นได้ว ่าท ั้งว ิทยาลัยน าฏศิลป์ มหาวิทยาลัยต ่าง ๆ ล้วน
กำ�หนดให้น ิสิตนักศึกษาค้นคว้า รวบรวมท ่าร่ายรำ�ที่ม ีม าแ ต่โบราณ และที่ค รูอาจารย์ส ร้างสรรค์ข ึ้นมาใหม่ ตลอดจน
การก ำ�หนดให้น ิสิตน ักศึกษาค ิดป ระดิษฐ์ช ุดการแ สดงใหม่ ๆ ขึ้นเพื่อเป็นส ่วนห นึ่งข องก ารส ำ�เร็จก ารศึกษา โดยบันทึก
เรียบเรียงท่ารำ�จัดทำ�เป็นรูปเล่ม อีกทั้งศิลปินและครูอาจารย์ต่างก็ใช้วิธีการบันทึกเพื่อช่วยจำ�ของแต่ละบุคคลตาม
ความถนัดและเห็นว่าสะดวกดีที่สุดสำ�หรับตน จึงเห็นได้ว่าการบันทึกลักษณะนี้ไม่ค่อยให้รายละเอียดในการอธิบาย
การเคลื่อนไหวร่างกายได้ค รบถ้วน ดังจะได้กล่าวถึงก ารบ ันทึกที่ปรากฏเป็นข ้อ ๆ ดังนี้