Page 17 - เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
P. 17

การ​ประยุกต์ก​ ับ​งาน​มัลติมีเดียใ​นด​ ้านก​ าร​ศึกษา 14-7

เร่ือง​ท่ี 14.1.1
แนวคิดเ​ก่ยี วก​ ับน​ าฏศิลปไ์​ ทย​และ​การบ​ ันทึกท​ า่ ร​ ำ�

       การอ​ นุรักษ์น​ าฏศิลป์ข​ องไ​ทยถ​ ือเ​ป็นเ​รื่องส​ ำ�คัญข​ องค​ นไ​ทยร​ ุ่นห​ ลัง การบ​ ันทึกท​ ่าร​ ำ�​มวี​ ิวัฒนาการเ​รื่อยม​ าต​ าม​
ยุต​ตาม​สมัย​ต่าง ๆ เริ่ม​ตั้งแต่ กลอนส​ ำ�หรับท​ ่องจำ� ลักษณะ​ลายเ​ส้น ภาพน​ ิ่ง ลายล​ ักษณ์อ​ ักษร กล้องด​ ิจิทัล การ​บันทึก​
ด้วยร​ ะบบก​ ารต​ รวจ​จับก​ ารเ​คลื่อนไหว และก​ าร​ใช้โ​น้ต​การ​เต้นรำ� แต่ละ​วิธีก​ ารม​ ี​จุดเ​ด่นแ​ ละข​ ้อ​จำ�กัดใ​นต​ ัวเ​อง

1. 	ความห​ มาย ความเ​ป็น​มา และ​ความ​สำ�คัญข​ องน​ าฏศลิ ปไ​์ ทย

       นาฏศิลป์​ไทย หมาย​ถึง ศิลปะ​การ​แสดง​ซึ่ง​ผสม​ผสาน​การ​ร้อง​รำ�​ประกอบ​ดนตรี​ของ​ไทย ตัวอย่าง​เช่น การ​
ฟ้อน การร​ ำ� ระบำ� โขน ศิลปะก​ ารแ​ สดงเ​หล่าน​ ีม้​ คี​ วามแ​ ตกต​ ่างก​ ันต​ ามท​ ้องถ​ ิ่น โดยอ​ าจจ​ ะม​ ีชื่อเ​รียกแ​ ละม​ ที​ ่าก​ ารแ​ สดงท​ ี​่
แตก​ต่าง​กัน​ไป สาเหตุ​หลัก​มา​จาก​ภูมิประเทศ ภูมิ​อากาศ ความ​เชื่อ ศาสนา ภาษา นิสัย​ใจคอ​ของ​ผู้คน ชีวิต​ความ​
เป็น​อยู่​ของ​แต่ละ​ท้อง​ถิ่น การ​อนุรักษ์​นาฏศิลป์​ของ​ไทย​ถือ​เป็น​เรื่อง​สำ�คัญ​ของ​คน​ไทย​รุ่น​หลัง เพราะ​นาฏศิลป์​ไทย​
เป็น​วิทยาการท​ าง​ด้าน​ศิลปกรรมศ​ าสตร์​ที่​เกิด​จาก​ภูมิปัญญา และก​ าร​สร้างสรรค์​ด้วย​ความ​เพียร​พยายาม​อย่าง​วิริยะ​
อุตสาหะ​ของ​บรรพบุรุษ​ไทย​ที่​สั่งสม​มา​แต่​โบราณกาล​นั้น นาฏศิลป์​ไทย​เป็น​เอกลักษณ์​ของ​ประเทศไทย​และ​ความ​
ภาคภ​ ูมใิ จข​ องค​ นในช​ าติ การส​ ืบทอดจ​ ากร​ ุ่นส​ ูร​่ ุ่น เปน็ ห​ วั ใจส​ ำ�คัญใ​นก​ ารอ​ นุรักษน​์ าฏศิลปข​์ องไ​ทย ภาพท​ ี่ 14.2 แสดงถ​ ึง​
ความ​อ่อน​ช้อย​ของ​นาฏศิลป์ข​ อง​ไทย

                                       ภาพท​ ี่ 14.2 นาฏศิลป​ไ์ ทย

ทม่ี า:	 http://www.thaismile.jp/ สืบค้น 7 สิงหาคม 2556
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22