Page 20 - เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
P. 20

14-10 เทคโนโลยีม​ ัลติมีเดีย
       การ​บันทึก​ท่า​รำ�​แบบ​นี้​ผู้​รำ�​จำ�เป็น​ต้อง​จำ�​ท่าทาง​การ​เคลื่อนไหว​ที่​เรียน​รู้​มา​จาก​ครู​ผู้​สอน​ไว้​แล้ว และ​ใน​การ​รำ�​

ต่อ​เนื่อง​ใช้​การ​ท่อง​กลอน​เพื่อ​นำ�​ท่า​รำ�​แต่ละ​ท่า​มา​ร้อย​เรียง​ต่อ​กัน แต่​ข้อ​จำ�กัด​คือ​ท่า​รำ�​ที่​ถ่ายทอด​ผ่าน​จาก​ครู​นั้น​อาจ​
จะ​ผิด​เพี้ยน​ตาม​กาล​เวลา และ​มี​การ​ตกแต่ง ดัดแปลง​และ​เพิ่ม​เติม​ท่า​รำ�​ได้ จน​ทำ�ให้​ท่า​รำ�​ที่​ตกทอด​มายัง​รุ่น​หลัง​นั้น​
แตก​ต่างก​ ัน​ตาม​แต่โ​รงเรียนน​ าฏศิลป์​ที่ส​ อน

       2.2	 การ​บันทึก​แบบ​ลาย​เส้น ตำ�รา​รำ�​อีก​เล่ม​หนึ่ง​เป็น​สมุด​ไทยดำ� ฝีมือ​ช่าง​สร้าง​ขึ้น​ใน​สมัย​รัชกาล​พระบาท-​
สมเด็จพ​ ระพุทธเ​ลิศ​หล้าน​ ภาลัย หรือพ​ ระบาทส​ มเด็จ​พระน​ ั่ง​เกล้าเ​จ้าอ​ ยู่​หัว มี​ลักษณะ​เป็นภ​ าพ​วาด​ลายเ​ส้น เขียน​ฝุ่น
จำ�ลอง​ขึ้นม​ าจ​ าก​ตำ�รา​รำ�​ครั้งร​ ัชกาล​ที่ 1 โดยส​ ังเกตไ​ด้​จากก​ ารเ​รียงล​ ำ�ดับ​ท่าร​ ำ�​เป็นแ​ บบเ​ดียวกัน แต่​มีท​ ่าร​ ำ�​ครบ 66 ท่า
ตำ�รา​เล่ม​นี้เ​ป็นข​ อง​สมเด็จพ​ ระ​อนุ​ชาธิ​ราชก​ รม​พระราชวังบ​ วรม​ หา​สุร​สิงหนาท นำ�​มาพ​ ิมพ์​ไว้ใ​น ตำ�ราฟ​ ้อน​รำ� เก็บ​ไว้​ใน​
หอสมุดแห่งชาติ

            ภาพท​ ่ี 14.6 ภาพ​วาดล​ ายเ​สน้ บ​ นั ทึก​ท่าร​ �ำ ไ​ ทยใ​น​หนงั สือ​สมเ​ดจ็ ฯ กรม​พระยา​ด�ำ รง​ราชาน​ ​ภุ าพ

ท่ีมา: ดำ�รงร​ าชาน​ ุ​ภาพ,​ สมเ​ด็จฯ กรมพ​ ระยา  อ้าง​ถึงใ​น ชมนาด กิจ​ขันธ์. 2531: 8

       ภาพ​ที่ 14.6 เป็น​ตัวอย่าง​ของ​ภาพ​วาด​ลาย​เส้น​บันทึก​ท่า​รำ�​ไทย ข้อดี​ของ​การ​บันทึก​ใน​ลักษณะ​นี้​คือ​ผู้​เรียน​
สามารถ​เห็น​ท่าทาง​ได้​ชัดเจน​กว่า​การ​ท่องจำ�​บทกลอน แต่​ก็​มี​ข้อ​จำ�กัด​อยู่​หลาย​ประการ เช่น 1) ราย​ละเอียด​ของ​การ​
บันทึกซ​ ึ่งจ​ ะข​ ึ้นก​ ับค​ วามช​ ำ�นาญข​ องผ​ ูจ้​ ดบ​ ันทึกเ​อง 2) ภาพว​ าดล​ ายเ​ส้นไ​มส่​ ามารถแ​ สดงใ​หถ้​ ึงค​ วามเ​ชื่อมต​ ่อจ​ ากท​ ่าทาง​
หนึ่ง​ไป​ยัง​อีกท​ ่าทาง​หนึ่ง​ได้ 3) ยาก​ต่อก​ าร​แก้ไขแ​ ละป​ รับปรุง
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25