Page 66 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 66
2-22 22
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
สาหรับประเทศไทยได้มีการเตรียมความพร้อมดา้ นโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือการเข้าสปู่ ระชาคมเศรษฐกจิ
อาเซียโดยกระทรวงคมนาคมได้จัดทายุทธศาสตร์ของความเช่ือมโยงภายใต้แผนแม่บทว่าด้วยความเช่ือมโยง
ระหว่างกนั ในอาเซยี น (ASEAN Connectivity Master Plan) รวม 5 ยุทธศาสตร์ มรี ายละเอียด ดงั ต่อไปน้ี
(1) การก่อสร้างโครงข่ายทางหลวงอาเซียน โดยปรับปรุงถนนต่างๆของทางหลวงอาเซียนให้มีไหล่
ทางขนาด 1.50 เมตร สามารถรองรบั ปริมาณจราจรวนั ละ 2,000 คนั ภายในปี 2554 รวมทง้ั การปรบั ปรุงถนน
ท่ีมีขนาดไหล่ทาง 1.50-2 เมตร รองรับปริมาณจราจร 1,000-4,000 คันต่อวัน ให้เป็นทางหลวงท่ีมีขนาดไหล่
ทาง 2.50 เมตร รองรับปริมาณจราจรวันละ 8,000 คันภายในปี 2563 โดยให้ความสาคัญกับเส้นทางขนส่ง
สินค้าผ่านแดนเป็นอันดับแรก นอกจากนั้น อาเซียนต้องศึกษาความเป็นไปได้ในการเช่ือมโยงประเทศท่ีเป็น
เกาะกับประเทศบนแผ่นดินใหญ่ของอาเซียน โดยต้องแล้วเสร็จภายในปี 2558 โดยดาเนินการควบคู่กับการ
พจิ ารณาขยายทางหลวงอาเซยี น เพอ่ื เชื่อมไปยังจีนและอินเดียโดยเฉพาะช่วงฮานอย-ลาว-พม่า-อินเดยี เพ่ือให้
แลว้ เสร็จพร้อมกันในปี 2558
(2) การดาเนินโครงการทางรถไฟสิงคโปร์-คุนหมิง โดยปัจจุบันไทยได้ต่อเช่อื มทางรถไฟกับมาเลเซีย
และลาวแล้ว คือ สุไหงโกลก-ปาดังเบซาร์ และหนองคาย-ท่านาแล้ง แต่ต้องเร่งก่อสร้างในช่วงท่ีขาดตอน คือ
อรัญประเทศ-คลองลึก ระยะทาง 6 กม. เพ่ือเชื่อมต่อไปยังกัมพูชา กาหนดแล้วเสร็จในปี2557 และด่านเจดีย์
สามองค-์ นา้ ตก ระยะทาง 153 กม. เพือ่ เชอื่ มไปยงั พม่า กาหนดแลว้ เสรจ็ ปี 2563 ปจั จบุ ันออกแบบแล้ว แต่ติด
ปัญหาในส่วนของพมา่
(3) การสร้างเครือข่ายการขนส่งทางน้าบนภาคพื้นทวีปที่มีประสิทธิภาพและเช่ือมโยงกัน โดยเร่ิม
ภายในปี 2555