Page 69 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 69
โครงก2า5รบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 2-25
7.6) การเปลยี่ นแปลงด้านเทคโนโลยแี ละการสือ่ สาร
สภาพการเปลีย่ นแปลงด้านกฎเกณฑ์การคา้ และการลงทุนยังส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการ
ทาธรุ กิจด้วย นน่ั คอื การพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนคิ ส์ (E-Commerce) จะมรี ปู แบบท่หี ลากหลายและทวีความสาคัญ
มากย่ิงข้ึน เน่ืองจากมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูล (Information Infrastructure) ซ่ึงเป็นการ
ยกระดับเครือข่ายแห่งชาติท่ีมีอยู่และพัฒนาเครือข่ายดังกล่าวให้เป็นโครงสร้างพ้ืนฐานด้านข้อมูลของภูมิภาค
เช่น พัฒนาการเชื่อมโยงความเร็วสูง (high-speed connection) ระหว่างโครงสร้างพ้ืนฐานด้านข้อมูล
(National Information Infrastructures: NII) ของทกุ ประเทศสมาชิกอาเซยี น ดงั น้ัน ทงั้ ภาครัฐและเอกชนจึง
ต้องมีการปรับตัวเพื่อรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงน้ี ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการต่างๆ
เพอ่ื รองรบั หรือการปรบั กลยุทธ์การขายโดยรกุ ตลาดสนิ ค้าออนไลนม์ ากขึน้
2.3 กฎบัตรอาเซยี น (ASEAN Charter)
1) ความจาเป็นของการมีกฎบตั รอาเซียน
กฎบัตรอาเซยี นถอื เปน็ เสมือนธรรมนูญของอาเซยี น เน่ืองจากการรวมตวั ของอาเซียนใหเ้ ป็นประชาคม
อาเซียน จาเป็นทจี่ ะต้องมีกรอบหรอื พื้นฐานทางกฎหมายรองรับ เพื่อใชเ้ ปน็ กฎเกณฑ์ให้ประเทศสมาชิกถือเป็น
พันธกรณีที่ตอ้ งปฏบิ ัติตาม (legal binding) หากฝ่าฝืนก็จะมกี ารลงโทษ
2) สาระโดยสรปุ ของกฎบตั รอาเซียน
2.1) กาหนดใหอ้ าเซียนมสี ถานะเป็นนิตบิ คุ คล
2.2) กฎเกณฑ์และกระบวนการรับสมาชิก กาหนดให้ต้องเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉยี งใต้ และจะต้องได้รบั รองจากสมาชกิ อาเซยี นทั้งหมด
2.3) สมาชิกต้องยินยอมท่ีจะผูกพันตามกฎบัตรและปฏิบัติตามพันธกรณี และมีหน้าที่ตามท่ี
กาหนดไว้ในกฎบัตรและความตกลงต่างๆ ของอาเซียน รวมถึงหน้าที่การออกกฎหมายภายในเพื่อรองรับ
พนั ธกรณอี งค์
2.4) องค์กรของประชาคมอาเซียนจะประกอบด้วย