Page 67 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 67
โครงก2า3รบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 2-23
(4) การสร้างระบบขนส่งทางทะเลทเ่ี ชื่อมโยงมีประสทิ ธิภาพและแข่งขนั ได้ โดยพฒั นาศักยภาพของ
ท่าเรืออาเซียน 47 แห่งภายในปี 2558 โดยไทยมีแผนพัฒนา 3 แห่ง คือ ท่าเรือกรุงเทพท่าเรือแหลมฉบัง และ
ท่าเรือสงขลา โดยท่าเรือแหลมฉบังต้องรับตู้สินค้าเพิ่มข้ึนเป็นปีละ 18.8 ล้านทีอียูรองรับรถยนต์ได้ปีละ 1.95
ล้านคนั และรองรบั สนิ ค้าทว่ั ไปปลี ะ 2.56 ล้านตัน
(5) การสร้างระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่คล่องตัว เพื่อให้อาเซียนเป็นศูนย์กลางการ
ขนส่ง สะพานเศรษฐกิจในเส้นทางการขนส่งของโลก และการก่อสร้างแนวเส้นทางเศรษฐกิจเช่ือมตะวันออก
และตะวันตกให้แล้วเสร็จ นอกจากนั้น จะต้องเร่งส่งเสริมแนวเสน้ ทางเศรษฐกิจแม่น้าโขง-อินเดีย ในฐานะเป็น
สะพานเศรษฐกิจ ซ่ึงรวมถึงการพัฒนาโครงการท่าเรือน้าลึกทวาย การสร้างทางหลวงเช่ือมจังหวัดกาญจนบุรี
และทวาย และการศึกษาความเป็นไปไดใ้ นการสร้างทางรถไฟจากกาญจนบรุ ี-ทวาย
จากโครงการดังกล่าว จะทาให้ในที่สุดอาเซียนมีความเชื่อมโยงเป็นหนึ่งเดียวกัน และเชื่อมโยงกับ
ภูมภิ าคอนื่ ๆ ของโลก รวมทง้ั จะสง่ ผลใหก้ ารพัฒนาในพนื้ ที่เป็นไปอย่างรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ไมว่ า่ จะเป็น การ
ไหลเวียนของสินคา้ การเดนิ ทางของประชาชน และการขยายตัวของเมอื ง เป็นตน้
7.3) การบรหิ ารงานพนื้ ทช่ี ายแดน
ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนจะทาให้การบริหารงานบริเวณพน้ื ทช่ี ายแดนมีความสาคญั มากย่ิงขน้ึ ไม่วา่
จะเป็นพื้นท่ีชายแดนท่ีเป็นด่านการค้าอยู่แล้วในปัจจุบันท่ีมีโอกาสขยายตัวจากการค้าขายและการเดินทาง
ระหว่างประเทศของประชาชนมากยิ่งข้ึน อันจะสง่ ผลให้เกิดการขยายตัวของเมืองชายแดนอยา่ งหลีกเลย่ี งไม่ได้
ขณะเดียวกันการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะทาใหป้ ระเทศไทยมีแนวโน้มทจี่ ะเปิดด่านการค้าในจังหวดั
ท่ีเช่ือมต่อกับประเทศเพ่ือนบ้านเพ่ิมข้ึนเพื่อส่งเสริมการค้าตามแนวชายแดนไทย โดยเฉพาะการผลักดันและ
ยกระดับจุดผ่อนปรนต่างๆ อาทิ จุดผ่อนปรนบ้านฮวก อาเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ให้เป็นจุดผ่านแดนถาวรกับ
ประเทศลาว จดุ ผ่อนปรน กว่ิ ผาวอก อาเภอเชียงดาว จงั หวัดเชยี งใหม่ และจดุ ผอ่ นปรนบ้านห้วยต้นนุ่น อาเภอ
ขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน ให้เป็นจุดผ่านแดนถาวรกับประเทศเมียนมาร์ รวมถึงการเร่งการเปิดจุดผ่านแดน
ถาวรแห่งใหม่กับกัมพูชาท่ีสตึงบท และการติดตามบูรณาการขยายพื้นที่ด่านสะเดา -บูกิตกายูฮิตัม และด่าน
บา้ นประกอบ - ดเุ รียนบุหรง รัฐเกดะห์ กบั ประเทศมาเลเซยี รวมทงั้ การจดั ตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เช่น
ด่านอาเภอตากใบ อาเภอสุไหงโกลก และอาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาสเพื่อเช่ือมโยงกับรัฐกลันตัน ประเทศ
มาเลเซียและเขตเศรษฐกิจพิเศษ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก เพื่อเชื่อมกับเขตเศรษฐกิจเมียวดี ประเทศเมียน
มาร์ เป็นตน้ การเปิดด่านการคา้ และจดุ ผ่อนปรนทม่ี ีมากขึน้ จงึ ทาให้หน่วยงานดา้ นความม่นั คงต้องมกี ารเตรียม
มาตรการผลกระทบทางออ้ มทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ ด้วย
7.4) การปฏสิ มั พันธท์ างสงั คมอยา่ งใกล้ชดิ
ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นจะนาไปสู่การปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งประชาชนท่ีแนน่ แฟน้ มากขน้ึ โดยเป็นผล
จากการอานวยความสะดวกเก่ียวกับการผ่านแดน/ การค้าการลงทุน การพัฒนาความเช่ือมโยงด้านโครงสร้าง