Page 17 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 17

อาณาจกั รอยธุ ยา 4-7
การเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คมในเขตลมุ่ แมน่ าํ้ เจา้ พระยาตอนลา่ งนนั้ เมอื่ พจิ ารณาจากหลกั ฐานตา่ งๆ แลว้
กล่าวได้ว่ามีอยู่ 2 ประการ คอื

       1.	 ปัจจัยด้านภูมิศาสตร์ อาณาจักรอยธุ ยากอ่ กำ� เนิดข้ึนมา ณ บริเวณทีแ่ ม่นา้ํ สำ� คัญ 3 สายไหล
มาบรรจบกนั คอื แมน่ า้ํ เจา้ พระยา แมน่ าํ้ ลพบรุ ี และแมน่ าํ้ ปา่ สกั สภาพภมู ศิ าสตรด์ งั กลา่ วเปน็ ปจั จยั ส�ำคญั
ดา้ นกายภาพทเ่ี ออื้ อำ� นวยใหบ้ รเิ วณนก้ี ลายเปน็ ทร่ี าบลมุ่ อดุ มสมบรู ณเ์ หมาะแกก่ ารเพาะปลกู นอกจากนนั้
ยังเป็นชุมทางในการติดต่อคมนาคมกับหัวเมืองฝ่ายเหนือ ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการติดต่อค้าขายทาง
ทะเลกับบ้านเมอื งภายนอกดว้ ย

       ความอุดมสมบูรณ์ทางการเกษตรท�ำให้อยุธยาสามารถผลิตอาหารเลี้ยงผู้คนได้เป็นจ�ำนวนมาก
ซ่ึงมีความส�ำคัญยิ่ง เพราะในสมัยก่อน ก�ำลังคนเป็นทรัพยากรท่ีมีค่าและเป็นพ้ืนฐานส�ำคัญอย่างหนึ่ง
ในการสร้างและแผ่ขยายอาณาจักร ส่วนท�ำเลที่ต้ังท่ีเหมาะสมกับการค้าน้ัน ท�ำให้อยุธยาได้เข้าร่วมเป็น
สว่ นหนง่ึ ของเครอื ขา่ ยการคา้ นานาชาตใิ นภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตส้ มยั จารตี และการค้าของป่าได้
ช่วยหนุนให้กรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองท่าที่มีความโดดเด่นเมืองหน่ึงในภูมิภาคน้ี จนเป็นท่ีกล่าวขวัญถึงของ
บรรดาพอ่ คา้ ตา่ งชาติ

       2.	 ปัจจัยด้านวัฒนธรรมและก�ำลังทหาร อาณาจกั รอยธุ ยาไดร้ บั มรดกความเจรญิ ดา้ นวฒั นธรรม
จากแคว้นละโว้ และได้รับการสนับสนุนด้านก�ำลังทหารจากแคว้นสุพรรณภูมิ พื้นฐานด้านวัฒนธรรมและ
กำ� ลงั ทหารที่มั่นคงได้ชว่ ยสง่ เสรมิ ให้อยุธยาก่อกำ� เนิดและพฒั นาขึ้นมาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็

       นอกจากปจั จยั พน้ื ฐานดงั กลา่ วแลว้ ปจั จยั ดา้ นชอ่ งวา่ งอำ� นาจทางการเมอื งทเี่ กดิ ขน้ึ ในคาบสมทุ ร
อนิ โดจนี ชว่ งครงึ่ หลงั ของพทุ ธศตวรรษที่ 19 ไดเ้ ปน็ ตวั เรง่ ใหอ้ าณาจกั รอยธุ ยากอ่ กำ� เนดิ ขนึ้ มาได้ กลา่ วคอื
ขณะนั้นแคว้นสุโขทัยซ่ึงอยู่ทางเหนือและอาณาจักรเขมรซ่ึงอยู่ทางตะวันออกก�ำลังเส่ือมอ�ำนาจลงมาก
จึงเปิดโอกาสให้อยุธยาซงึ่ มีปจั จัยพ้นื ฐานท่ีพร้อมมลู กอ่ ตวั ขึ้นในช่องวา่ งแห่งอำ� นาจนี้

       อย่างไรก็ตาม อาณาจักรอยุธยาเมื่อแรกก่อตั้งยังมิได้รวมตัวกันอย่างแน่นแฟ้น ดังจะเห็นได้ว่า
หลังจากที่สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 สวรรคตใน พ.ศ. 1912 แล้วได้เกิดการแย่งชิงอ�ำนาจทางการเมือง
ระหวา่ งราชวงศ์อู่ทอง ซงึ่ มฐี านอำ� นาจอยทู่ ลี่ พบุรีและราชวงศ์สุพรรณภูมิซง่ึ มฐี านอำ� นาจอยทู่ สี่ ุพรรณบุรี
การแย่งอำ� นาจทางการเมอื งด�ำเนินอยู่นานประมาณ 40 ปี (พ.ศ. 1913–1952) จงึ ได้ยตุ ิลง โดยราชวงศ์
สุพรรณภูมิได้ครองอ�ำนาจทางการเมืองอย่างเด็ดขาด ส่วนราชวงศ์อู่ทองก็หมดบทบาทไปจากการเมือง
อยุธยา

       แมว้ า่ จะมกี ารแยง่ ชงิ อำ� นาจทางการเมอื งนานถงึ 40 ปี แตก่ ไ็ มท่ ำ� ใหอ้ าณาจกั รอยธุ ยาลม่ สลายไป
เพราะผทู้ ไ่ี ดค้ รองกรงุ ศรอี ยธุ ยาเทา่ นนั้ จงึ จะมสี ทิ ธธิ รรมโดยสมบรู ณท์ จ่ี ะเปน็ พระราชาธริ าชของอาณาจกั ร
ความมุ่งหวังทางการเมืองของราชวงศ์ท้ังสองจึงอยู่ในกรอบโครงของอาณาจักรอยุธยาท้ังส้ิน แม้ว่า
อาณาจกั รน้ันจะมคี วามเปน็ จริงในอดุ มคติมากกว่าในทางปฏิบัติก็ตาม

       ดว้ ยเหตนุ ้ี เมอื งหลวงหรอื ราชธานจี งึ กลายเปน็ สถาบนั ทางการเมอื งทสี่ ำ� คญั ของอาณาจกั ร มคี วาม
ส�ำคัญต่อการด�ำรงคงอยู่ ด้วยเหตุผลแห่งความเป็นเครือญาติ การมีอุดมคติร่วมกันทางการเมือง และ
การร่วมในผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจบางประการ แต่อาณาจักรท่ีรวมตัวกันอย่างหลวมๆ น้ีได้ค่อยๆ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22