Page 21 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 21
อาณาจกั รอยธุ ยา 4-11
อยา่ งไรก็ตาม ตง้ั แตป่ ลายพทุ ธศตวรรษที่ 21 เป็นต้นมา อาณาจกั รพมา่ ภายใตร้ าชวงศ์ตองอูได้
เริ่มแผ่ขยายอ�ำนาจเข้ามาในแคว้นล้านนาเช่นกัน ล้านนาจึงกลายเป็นสนามประลองก�ำลังระหว่างอยุธยา
กับพม่า ท้ังสองฝ่ายได้ผลัดเปล่ียนกันเข้ามามีอ�ำนาจในล้านนามาจนส้ินสมัยอยุธยาใน พ.ศ. 2310 แต่
ส่วนใหญแ่ ล้ว ลา้ นนามักตกเปน็ ประเทศราชของอาณาจักรพมา่ มากกวา่
สว่ นทางดา้ นตะวันออกนนั้ อยธุ ยาไดแ้ ผอ่ ำ� นาจเขา้ ไปในอาณาจักรเขมรและดินแดนภาคตะวัน-
ออกเฉียงเหนือของประเทศไทยในปจั จุบัน
การทอ่ี ยธุ ยามงุ่ แผข่ ยายอำ� นาจเขา้ ไปในอาณาจกั รเขมรนนั้ คงเปน็ เพราะวา่ อยธุ ยาปรารถนาทจี่ ะ
ขึ้นมาเป็นศูนย์กลางแห่งอ�ำนาจในคาบสมุทรอินโดจีนแทนที่อาณาจักรเขมรซ่ึงเคยเป็นมาแล้วในอดีตเม่ือ
พุทธศตวรรษที่ 16–18 อยธุ ยาจึงพยายามทจี่ ะมีอำ� นาจเหนอื อาณาจกั รเขมรให้ได้ เพ่ือแสดงใหอ้ าณาจักร
ตา่ งๆ ในคาบสมทุ รอินโดจีนประจักษช์ ัดแจ้งถึงความเปน็ ผ้นู ำ� ของอยธุ ยา
มีข้อน่าสังเกตว่า การแผ่ขยายอ�ำนาจของอยุธยาท�ำให้เขมรต้องย้ายเมืองหลวงให้ห่างไกลจาก
อยุธยามากย่ิงขึ้นเพ่ือหนีการรุกรานของอยุธยา เขมรได้ย้ายราชธานีจากนครธมไปอยู่ท่ีเมืองบาสันหรือ
สรสี นั ถารใน พ.ศ. 1974 แตใ่ นไมช่ า้ กม็ นี าํ้ ทว่ มราชสำ� นกั จงึ ตอ้ งยา้ ยตอ่ ไปยงั เมอื งจตรุ พกั ตร์ ซง่ึ กค็ อื สถานทตี่ ง้ั
ของกรงุ พนมเปญในปจั จุบัน ต่อมาใน พ.ศ. 2071 เขมรได้ยา้ ยเมืองหลวงอีกครงั้ หน่งึ ไปอยู่ทเี่ มอื งละแวก4
แมว้ า่ การสงครามใน พ.ศ. 1974 จะทำ� ใหอ้ ยธุ ยาไดเ้ ขมรมาเปน็ ประเทศราช แตอ่ ำ� นาจของอยธุ ยา
ทม่ี เี หนอื เขมรจะมเี ฉพาะในชว่ งทอ่ี ยธุ ยามคี วามเขม้ แขง็ เทา่ นน้ั เมอื่ ใดทอ่ี ยธุ ยาออ่ นแอ เขมรกม็ กั จะตง้ั ตน
เปน็ อสิ ระ และถอื โอกาสยกทพั มาโจมตหี วั เมอื งชายทะเลหรอื หวั เมอื งดา้ นตะวนั ออกของอาณาจกั รอยธุ ยา
อยเู่ นอื งๆ ในสมยั อยธุ ยาตอนปลาย ญวนเรมิ่ เรอื งอำ� นาจและไดเ้ ขา้ มาแขง่ อำ� นาจกบั อยธุ ยาในดนิ แดนเขมร
ตั้งแตต่ น้ พุทธศตวรรษท่ี 23 ต่อเนอื่ งมาจนถึงสมัยรตั นโกสนิ ทรต์ อนต้น
สว่ นดนิ แดนในภาคอีสานนนั้ อยธุ ยายงั ไมส่ ามารถผนวกใหเ้ ขา้ มาอยใู่ นอาณาจกั รได้ มาบรรลผุ ล
ในสมยั รตั นโกสินทร์ แล้วเป็นรัฐชาติไทยในสมยั รัชกาลท่ี 5
ดินแดนด้านใต้ อยุธยาได้แผ่อ�ำนาจเข้าไปในแคว้นนครศรีธรรมราช และหัวเมืองมลายู ซ่ึงใน
ขณะนั้นคง ไดแ้ ก่ ปตั ตานี ไทรบรุ ี กลันตนั ตรังกานู และเมืองมะละกา โดยอยธุ ยาสามารถผนวกแควน้
นครศรธี รรมราชเขา้ มาเปน็ สว่ นหนงึ่ ของอาณาจกั รไดใ้ นชว่ งครงึ่ หลงั ของพทุ ธศตวรรษที่ 20 สนั นษิ ฐานวา่
อยธุ ยาคงไดแ้ ควน้ นครศรธี รรมราชไวใ้ นอำ� นาจกอ่ นรชั สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ อาจเปน็ สมยั สมเดจ็
พระบรมราชาธริ าชที่ 2 (เจา้ สามพระยา พ.ศ. 1967–1991)5
สว่ นหวั เมืองมลายูน้นั เป้าหมายส�ำคญั ของอยธุ ยาดูเหมือนจะอยู่ท่เี มืองทา่ มะละกา การทอ่ี ยุธยา
มุ่งแผ่ขยายอ�ำนาจเข้าครอบครองมะละกาน้ันก็เพื่อผลประโยชน์ทางการค้าของอาณาจักรอยุธยากับ
ต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างย่ิงการค้าของป่า โดยสภาพท�ำเลท่ีตั้งเมืองมะละกาซึ่งก่อต้ังข้ึนเม่ือประมาณ
4 สภุ ัทรดิศ ดศิ กุล, หมอ่ มเจ้า. (2522). ประวัตศิ าสตร์เอเชียอาคเนย์ถงึ พ.ศ. 2000. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั เลขาธิการคณะ
รัฐมนตร.ี น. 222.
5 ขจร สุขพานชิ . (2533). ข้อมูลประวตั ิศาสตร:์ สมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย. น. 116.