Page 25 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 25
อาณาจักรอยุธยา 4-15
ตอนที่ 4.2
สภาพการเมืองการปกครอง
โปรดอา่ นหวั เรอื่ ง แนวคดิ และวตั ถปุ ระสงค์ของตอนท่ี 4.2 แล้วจึงศกึ ษารายละเอียดตอ่ ไป
หัวเรื่อง
4.2.1 สถาบนั พระมหากษัตริย์
4.2.2 การจัดรูปแบบการปกครอง
4.2.3 การควบคมุ ก�ำลังคน
แนวคิด
1. สถาบนั พระมหากษตั รยิ อ์ ยธุ ยา ในระยะแรกผกู พนั กบั คตพิ ทุ ธศาสนาเรอื่ งมหาสมมตริ าช
แลว้ พฒั นาปรบั เปลย่ี นไปผกู พนั กบั คตเิ ทวราชา ในศาสนาพราหมณ์ จากปจั จยั สนบั สนนุ
ทงั้ ความใกลช้ ดิ เลอื่ มใสวฒั นธรรมเขมร และความจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งปรบั ปรงุ สถาบนั พระ-
มหากษตั รยิ ใ์ หส้ อดคลอ้ งกบั สภาพอำ� นาจทางการเมอื งของอาณาจกั รทไี่ ดแ้ ผข่ ยายออก
ไปอยา่ งกว้างขวาง
2. ในสมยั อยธุ ยาการจดั รปู แบบการปกครองชว่ ง พ.ศ. 1893–1998 ยดึ หลกั การกระจายอำ� นาจ
แลว้ ววิ ฒั นไ์ ปสกู่ ารกระชบั อำ� นาจสสู่ ว่ นกลางมากขนึ้ ในสมยั สมเดจ็ พระนครนิ ทราธริ าช
3. ใน พ.ศ. 1998 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ปฏิรูปการปกครองท่ียึดหลักการรวม
อ�ำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง โดยการปกครองส่วนกลางอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของ
กรมกลาโหมซง่ึ วา่ การฝา่ ยทหารทว่ั ราชอาณาจกั ร และกรมมหาดไทยวา่ การฝา่ ยพลเรอื น
ท่ัวราชอาณาจักรเช่นกัน รวมทั้งกรมจตุสดมภ์ เวียง วัง คลัง นา ส่วนการปกครอง
หวั เมอื งนนั้ ได้แบง่ เปน็ หวั เมอื งชัน้ ใน หวั เมอื งชั้นนอก และหวั เมืองประเทศราช
4. ก ารปฏริ ปู การปกครองในสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ ผลทส่ี ำ� คญั ยง่ิ ตอ่
การเมืองการปกครองในสมัยอยุธยาตอนต้น 2 ประการ คือ การดึงหรือการกระชับ
อ�ำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง และการเกิดระบบราชการท่ีมีขุนนางศักดินาเป็นตัวจักรกลของ
ระบบ
5. การปรบั ปรงุ การปกครองชว่ งหลงั เสยี กรุงศรีอยธุ ยาคร้ังท่ี 1 และสมัยอยุธยาตอนปลาย
ทำ� ใหอ้ ำ� นาจของสว่ นกลางทแี่ ผข่ ยายไปยงั หวั เมอื งตา่ งๆ ทวมี ากขน้ึ กวา่ เดมิ กอ่ ใหเ้ กดิ
ระบบราชการขนาดใหญ่ทม่ี ีความซับซอ้ นและมีความเป็นเอกภาพมากข้นึ