Page 30 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 30
4-20 ประวัตศิ าสตร์ไทย
แมว้ า่ ทางทฤษฎี พระมหากษตั รยิ อ์ ยธุ ยาตามคตเิ ทวราชาจะมพี ระราชอำ� นาจและความสงู สง่ มาก
ลน้ พน้ แตใ่ นทางปฏบิ ตั คิ วามเปน็ เทวราชาของพระองคไ์ มม่ ลี กั ษณะเดด็ ขาดเหมอื นดงั่ ตน้ เคา้ คตคิ วามเชอื่
ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ พระมหากษตั รยิ อ์ ยธุ ยาไมเ่ คยเกณฑแ์ รงงานคนจำ� นวนมากไปสรา้ งปราสาทหนิ ขนาดใหญ่
เพื่อเก็บพระบรมศพ ดังเช่นที่กระท�ำกันในอาณาจักรเขมร ท่ีเป็นเช่นน้ีเพราะพระมหากษัตริย์ไทยได้รับ
อทิ ธพิ ลพทุ ธศาสนาทเี่ นน้ วา่ ผปู้ กครองจะตอ้ งยดึ มน่ั ในทศพธิ ราชธรรม ราชจรรยานวุ ตั ร และจกั รวรรดวิ ตั ร
เทวราชาของอยุธยาจงึ มลี กั ษณะปานกลาง กลา่ วคอื ไมเ่ ป็นเทพเจา้ ท่สี ูงส่งมากอย่างเขมร แต่ใน
ขณะเดยี วกนั กม็ ไิ ดม้ คี ณุ ลกั ษณะเรยี บงา่ ยดง่ั เชน่ กษตั รยิ ส์ โุ ขทยั นอกจากนน้ั พระราชอำ� นาจของพระมหากษตั รยิ ์
อยธุ ยายงั ถกู จำ� กดั ดว้ ยเสถยี รภาพของราชบลั ลงั กแ์ ละการสบื ราชสมบตั ิ เพราะแมจ้ ะมกี ฎมณเฑยี รบาลวา่ ดว้ ย
การสืบราชสมบัติท่ีสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ทรงวางระเบียบไว้ แต่ตามสภาพความเป็นจริงแล้ว
ตำ� แหนง่ พระมหากษัตรยิ ข์ องอยุธยามกั ชว่ งชิงกันไดด้ ว้ ยอำ� นาจทางทหาร ผู้ใดมกี ำ� ลงั ทหารมากท่ีสดุ แม้
จะเป็นเพียงขุนนางก็สามารถข้ึนมาเป็นพระมหากษัตริย์ได้ เช่น เจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์สามารถล้ม
ราชวงศ์สโุ ขทยั แล้วขน้ึ ครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง
ด้วยเหตุที่ว่า ต�ำแหน่งพระมหากษัตริย์จะมีฐานะมั่นคงได้ต่อเม่ือมีความเข้มแข็งทางการทหาร
พระมหากษัตริย์อยุธยาจึงต้องแสวงหาสมัครพรรคพวกจากบรรดาเจ้านายและขุนนางท่ีคุมไพร่หลวงไว้
มากๆ เพ่ือเป็นฐานอ�ำนาจคุ้มครองและหนุนเสถียรภาพของราชบัลลังก์ พระมหากษัตริย์จึงต้องแบ่ง
พระราชอ�ำนาจทางการเมืองส่วนหนึ่งให้แก่พวกเจ้านายและขุนนาง ยังผลให้พระราชอ�ำนาจของพระองค์
มิได้มากล้นพ้นเด็ดขาดเหมือนดงั ทปี่ รากฏในลัทธเิ ทวราช แต่ยงั คงไวซ้ งึ่ ความศักดสิ์ ิทธิ์ สูงสง่ และความ
นา่ เกรงขาม
ส่วนปัจจัยท่ีส่งเสริมให้สถาบันพระมหากษัตริย์อยุธยาซ่ึงในระยะแรกผูกพันกับคติพุทธศาสนา
ววิ ฒั น์อยา่ งรวดเรว็ ไปส่คู ติทางศาสนาพราหมณน์ ้ัน อาคม พัฒิยะ วิเคราะห์วา่ น่าจะมอี ยู่ 2 ประการคือ
1) อาณาบริเวณท่ีก่อก�ำเนิดอาณาจักรอยุธยาซึ่งได้แก่ สุพรรณภูมิและละโว้น้ันเป็นดินแดนท่ีได้
รบั วฒั นธรรมพราหมณจ์ ากเขมรอยา่ งมาก บางครงั้ เขมรสามารถสถาปนาอำ� นาจทางการเมอื งเหนอื ดนิ แดน
แถบนี้ ในขณะทศ่ี นู ยอ์ ำ� นาจบางแหง่ เชน่ ละโวอ้ าจเคยเกย่ี วพนั กบั การเมอื งเขมรโดยตรงในบางครง้ั ดว้ ย
เหตนุ ด้ี นิ แดนในแถบลมุ่ แมน่ าํ้ เจา้ พระยาตอนลา่ งจงึ มคี วามคนุ้ เคยและเลอ่ื มใสวฒั นธรรมเขมรมาก เชน่ ใช้
ตวั อักษรเขมรในจารึก ใช้ชอ่ื ตำ� แหนง่ ด้านการปกครองและคำ� ยกยอ่ งตามแบบแผนของนครธม เปน็ ตน้
2) การท่ีอาณาจักรอยุธยาประสบความส�ำเร็จในการแผ่ขยายอ�ำนาจออกไปครอบคลุมดินแดน
รอบขา้ งไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง ทำ� ใหเ้ กดิ ความจำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งปรบั ปรงุ รปู แบบการเมอื งการปกครองใหเ้ หมาะกบั
สภาพอ�ำนาจของอาณาจักรที่แผ่ขยายออกไปจึงจะด�ำรงอยู่ได้อย่างม่ันคง หากอาศัยแต่ความเข้มแข็ง
ความสามารถของกษัตริย์แต่เพียงประการเดียว เม่ือสิ้นกษัตริย์พระองค์นั้นอาณาจักรก็จะแตกสลาย
ดังท่ีปรากฏแกแ่ ควน้ สโุ ขทยั ทธี่ ำ� รงความมน่ั คงและความเขม้ แขง็ ไวไ้ ดเ้ พยี งชว่ั รชั สมยั พอ่ ขนุ รามคำ� แหงและ
พระเจา้ ลไิ ทเทา่ น้นั