Page 35 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 35
อาณาจักรอยุธยา 4-25
เจา้ เมอื งตา่ งๆ เหลา่ นจ้ี ะเชอ่ื ฟงั ปฏบิ ตั ติ ามคำ� สงั่ ของกษตั รยิ ท์ ม่ี พี ระเดชพระคณุ ตอ่ ตนตามคตกิ ตญั ญกู ตเวที
แตก่ ารประพฤตปิ ฏบิ ตั ิดังกลา่ วพร้อมทจ่ี ะเปลย่ี นแปลงไปพร้อมๆ กบั การเปลย่ี นแปลงตวั บุคคล
ด้วยเหตุนี้ เม่ือมีการเปล่ยี นแปลงกษัตรยิ ์ ถา้ กษัตริยพ์ ระองคใ์ หม่ไม่เขม้ แข็ง ไมม่ คี ุณสมบัตพิ อที่
จะเปน็ ทย่ี อมรบั นบั ถอื ของบรรดาเจา้ เมอื งเหลา่ นแี้ ลว้ การเพกิ ถอนความสมั พนั ธ์ การแยกตวั เปน็ อสิ ระจาก
เมืองหลวง รวมท้ังการแย่งชิงต�ำแหน่งกษัตริย์ก็จะเกิดข้ึน ดังจะเห็นได้จากเหตุการณ์ทางการเมืองท่ีเกิด
ข้นึ หลายคร้ังก่อนการปฏิรูปการปกครอง เช่น
ขนุ หลวงพะงัว่ แย่งชงิ ราชบลั ลงั กจ์ ากสมเด็จพระราเมศวรใน พ.ศ. 1913
สมเด็จพระราเมศวรแย่งราชสมบัติจากพระเจา้ ทองลันใน พ.ศ. 1931
พระอนิ ทราชาเชอื้ พระวงศส์ พุ รรณภมู ิ ผคู้ รองสพุ รรณบรุ แี ยง่ อำ� นาจทางการเมอื งจากสมเดจ็
พระรามราชาใน พ.ศ. 1952
เจา้ อา้ ยพระยา เจา้ เมอื งสพุ รรณบรุ ี แยง่ ชงิ ราชสมบตั กิ บั เจา้ ยพ่ี ระยา เจา้ เมอื งแพรกศรรี าชา
หรอื เมืองสรรค์ หลังการสวรรคตของสมเดจ็ พระนครินทราธิราชใน พ.ศ. 1967
สภาพการณ์ดังท่ีได้บรรยายมาท�ำให้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถต้องทรงปฏิรูปการปกครองใน
พ.ศ. 1998 การปฏริ ปู การปกครองครง้ั นมี้ คี วามสำ� คญั ตอ่ ประวตั ศิ าสตรก์ ารเมอื งการปกครองไทยอยา่ งมาก
เพราะรูปแบบการปกครองท่ีปฏิรูปขึ้นใหม่น้ีได้ใช้เป็นโครงสร้างหลักในการปกครองอาณาจักรมาจนถึง
กลางรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จึงได้มีการปฏิรูปคร้ังส�ำคัญ
อกี ครั้งหนึ่ง
การปฏิรูปการปกครองใน พ.ศ. 1998 ดำ� เนนิ การบนหลักส�ำคัญ 3 ประการดงั นี้
- การขยายอ�ำนาจส่วนกลางออกควบคุมหัวเมืองต่างๆ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ
การกระชบั ดึงเขา้ สูศ่ นู ยก์ ลาง
- การแบง่ แยกหนา้ ที่ โดยแบ่งหน่วยงานราชการออกเปน็ 2 ฝา่ ย คือ กรมฝ่ายทหารและ
กรมฝ่ายพลเรอื น รวมท้งั แบง่ พลเมอื งหรือไพร่ในอาณาจกั รออกเปน็ 2 ฝ่ายด้วย (ไพร่ฝา่ ยทหาร ไพรฝ่ า่ ย
พลเรือน)
- การถ่วงดุลอ�ำนาจ แบ่งแยกอ�ำนาจของขุนนางออกเป็นสองฝ่าย แล้วให้ถ่วงดุลซึ่งกัน
และกนั เพื่อป้องกนั มใิ หข้ นุ นางผูใ้ หญ่รวมก�ำลังกันโคน่ ราชบัลลงั ก์
จากหลัก 3 ข้อน้ี สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ทรงจัดรูปแบบการปกครองใหม่ มีสาระส�ำคัญ
สรปุ ไดด้ งั น้ี
2.1 การปกครองสว่ นกลาง สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถไดท้ รงปรบั ปรงุ ระบบจตสุ ดมภส์ มยั อยธุ ยา
ตอนต้น โดยตั้งกรมใหญ่ขึ้นมาอีก 2 กรม คือ กรมพระกลาโหม และกรมมหาดไทย อัครมหาเสนาบดี
ผ้บู งั คับบญั ชากรมทั้งสองมีอำ� นาจเหนอื เสนาบดีจตสุ ดมภเ์ วียง วงั คลัง นา และมขี อบขา่ ยอำ� นาจหนา้ ท่ี
ที่แตกต่างกัน ส่วนกรมจตุสดมภ์นั้นมีการปรับปรุงขอบข่ายอ�ำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบให้เพ่ิมมากขึ้น
กว่าเดิม เพ่อื ให้เหมาะสมกับสภาพบา้ นเมืองท่ีได้แผก่ ว้างออกไป ดังนี้