Page 33 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 33
อาณาจกั รอยธุ ยา 4-23
เมืองลูกหลวงหรือเมืองหลานหลวง ข้ึนอยกู่ บั ยศศกั ด์ิของเจา้ นายผู้ดำ� รงตำ� แหนง่ เจ้าเมือง เปน็
เมืองใหญ่ที่มีความส�ำคัญต่ออาณาจักรในด้านเศรษฐกิจหรือก�ำลังทหาร ราชธานีจะส่งเจ้านายชั้นสูงไป
ปกครอง เมอื งลกู หลวงและเมอื งหลานหลวงจะมอี ำ� นาจในการปกครองตนเองคอ่ นขา้ งมากจนเกอื บจะเปน็
อิสระทั้งการเก็บภาษีอากร การควบคุมก�ำลังไพร่พล การพิจารณาช�ำระตัดสินคดีความที่เกิดขึ้นภายใน
เมอื ง และการตงั้ ตำ� แหนง่ ขนุ นางชน้ั ผนู้ อ้ ยเพอ่ื ชว่ ยบรหิ ารราชการตา่ งๆ เมอื งลกู หลวงและเมอื งหลานหลวง
จะมเี มอื งเลก็ ๆ เปน็ เมอื งบรวิ ารมาขนึ้ อยดู่ ว้ ย เทา่ ทป่ี รากฏในหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ เมอื งลกู หลวงใน
สมยั อยธุ ยาตอนตน้ ไดแ้ ก่ เมอื งสพุ รรณบรุ ี เมอื งลพบรุ ี เมอื งแพรกศรรี าชาหรอื เมอื งสรรค์ และเมอื งชยั นาท
ส่วนเมืองหลานหลวงคงได้แก่ เมืองอินทบรุ ี และเมอื งพรหมบรุ ี
1.4 หัวเมืองประเทศราช ถดั จากเขตเมอื งหลวงเมอื งหลานหลวงออกไป คอื หวั เมอื งประเทศราช
ในสมัยอยุธยาตอนต้นน่าจะได้แก่ สุโขทัย นครศรีธรรมราช และจันทบุรี หัวเมืองเหล่าน้ีอยุธยาจะให้
เจ้านายเชื้อสายเจา้ เมอื งเดมิ เปน็ ผปู้ กครองอยา่ งอสิ ระตามประเพณีการปกครองของแต่ละเมือง อยธุ ยาจะ
ไม่เข้าแทรกแซงแต่ประการใด หัวเมืองประเทศราชจะต้องส่งเคร่ืองราชบรรณาการมาให้อยุธยาตามเวลา
ทีก่ ำ� หนดไว้
จากที่ได้บรรยายมา จะได้เห็นว่า รูปแบบการปกครองของอาณาจักรอยุธยาในระยะแรกก่อตั้ง
ยึดหลักการกระจายอ�ำนาจ เพ่ือให้สอดคล้องกับอ�ำนาจทางการเมืองของราชธานีหรือศูนย์กลาง ซึ่งใน
ขณะนน้ั ยงั ไมส่ ามารถสถาปนาอำ� นาจทางการเมอื งอยา่ งเดด็ ขาดเหนอื หวั เมอื งตา่ งๆ ภายในอาณาจกั รได้
อำ� นาจการปกครองกระจายอยใู่ นกลมุ่ เจา้ นายเชอ้ื พระวงศผ์ ปู้ กครองหวั เมอื งตา่ งๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ดนิ แดน
ที่เป็นแกนกลางของอาณาจักร และเมืองลูกหลวงเมืองหลานหลวง พวกเจ้านายจึงมีอ�ำนาจมากกว่า
พวกขุนนาง เปน็ กลมุ่ การเมอื งท่คี อยทา้ ทายพระราชอำ� นาจของกษตั ริย์
อย่างไรก็ตาม ราชธานีที่กรุงศรีอยุธยาค่อยๆ แผ่ขยายอ�ำนาจออกไป โดยอาศัยการสงคราม
การแตง่ งาน การทตู และการคา้ รปู แบบการปกครองของอาณาจกั รจงึ คอ่ ยๆ เปลย่ี นแปลงจากการกระจาย
อ�ำนาจมาเป็น กึ่งรวมศูนย์อ�ำนาจ ในสมัยสมเด็จพระนครินทราธิราช ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็น
พนื้ ฐานส�ำคญั ของการปฏริ ปู การปกครองในสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ