Page 31 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 31

อาณาจักรอยุธยา 4-21
       ด้วยเหตุน้ี เมื่ออยุธยาขยายตัวออกไปครอบคลุมอาณาบริเวณท่ีกว้างใหญ่ไพศาลขึ้น จึงจ�ำเป็น
ต้องปรับปรุงรูปแบบการปกครองให้เหมาะสม และเน่ืองจากคุ้นเคยกับประเพณีการปกครองของเขมร
อยธุ ยาจงึ ไดน้ ำ� มาเปน็ แนวทางในการปรบั ปรงุ สถาบันการเมืองการปกครองและสถาบันพระมหากษัตริย์
จงึ ไดพ้ ฒั นาไปในรปู แบบของเขมรมากขนึ้ ทง้ั ๆ ทใี่ นระยะเรมิ่ แรกคงจะมปี ระเพณแี ละแบบแผนการปกครอง
ไม่แตกตา่ งจากสุโขทยั นกั 14
       เม่ือพิจารณาจากสภาพการเมืองท่ีเปล่ียนแปลงไป กล่าวได้ว่า การที่สถาบันพระมหากษัตริย์
อยุธยาวิวัฒน์ไปผูกพันกับคติทางศาสนาพราหมณ์นั้น เป็นการสนองตอบต่อสถานการณ์ใหม่ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ต์ ามคตเิ ทวราชาไดม้ สี ว่ นอยา่ งมากในการชว่ ยสนบั สนนุ ใหอ้ าณาจกั ร
อยธุ ยาทกี่ วา้ งใหญไ่ พศาลสามารถดำ� รงอยไู่ ดน้ านหลายรอ้ ยปี แมเ้ มอื่ เผชญิ กบั ความผนั ผวนทางการเมอื ง
หลายประการ เชน่ การมพี ระมหากษตั รยิ ท์ อี่ อ่ นแอหลายพระองค์ การแยง่ ชงิ ราชสมบตั ทิ เ่ี กดิ ขน้ึ หลายครง้ั
และการสงครามที่ท�ำกับพม่า เป็นต้น เดวิด เค วายอัตต์ ได้กล่าวถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ตามคติ
เทวราชาไว้ตอนหนึ่งว่า “...ลัทธิพราหมณ์ท�ำให้สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันท่ีเปล่งรัศมีอันงดงาม
มหัศจรรย์ เป็นสถาบนั ท่ตี ัง้ อยใู่ นชัน้ จักรวาล ซงึ่ คาํ้ จุนพระราชอ�ำนาจของพระมหากษัตริย์ในการปกครอง
ไพร่ฟา้ ประชาราษฎรท์ ั่วทกุ สารทศิ ...”15
กิจกรรม 4.2.1
       1.	 ในขนั้ ปลายสุด สถาบนั พระมหากษัตริย์อยุธยาไดว้ ิวฒั น์มาอย่ใู นฐานะใด
       2.	 มปี จั จยั อะไรทสี่ ง่ เสรมิ ใหส้ ถาบนั พระมหากษตั รยิ อ์ ยธุ ยาซง่ึ ในระยะแรกผกู พนั กบั คตพิ ทุ ธศาสนา
ววิ ัฒนอ์ ย่างรวดเรว็ ไปส่คู ตทิ างศาสนาพราหมณ์
แนวตอบกิจกรรม 4.2.1
       1.	 ในฐานะสมมติเทพ โดยมคี วามเป็นพระโพธสิ ัตวแ์ ละพระจกั รพรรดิราชผสมผสานอยูด่ ้วย
       2.	 มีอยู่ 2 ประการ คอื

            2.1	 ความใกล้ชดิ และความเล่ือมใสวัฒนธรรมเขมร
            2.2	การทอี่ ยธุ ยาประสบความสำ� เรจ็ ในการแผข่ ยายอำ� นาจออกไปครอบคลมุ ดนิ แดนรอบขา้ ง
ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง ทำ� ใหเ้ กดิ ความจำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งปรบั ปรงุ รปู แบบของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ใ์ หส้ อดคลอ้ ง
กบั สภาพอ�ำนาจทางการเมืองท่แี ผข่ ยายออกไป

         14 เร่ืองเดยี วกัน. น. 17–18.	
         15 อคนิ รพพี ฒั น,์ ม.ร.ว. (2521). สงั คมไทยในสมยั ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ พ.ศ. 2325–2416. แปลโดย ม.ร.ว. ประกายทอง สิรสิ ุข
และพรรณี สรุงบญุ ม.ี กรงุ เทพฯ: พิฆเณศ. น. 84.
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36