Page 27 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 27
อาณาจกั รอยุธยา 4-17
ความน�ำ
อาณาจกั รอยธุ ยาปกครองดว้ ยระบอบราชาธปิ ไตยหรอื สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ ภายใตก้ ารปกครอง
ในระบอบนี้ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันสูงสุดด้านการเมืองที่ท�ำหน้าท่ีปกครองอาณาจักรโดยมี
การจัดรูปแบบการปกครอง และการจัดระเบียบการควบคุมก�ำลังคน ที่ในทางทฤษฎีพยายามรวมศูนย์
อำ� นาจ แต่ในทางปฏบิ ตั ทิ ำ� ได้เพยี งแค่การดึงหรอื การกระชบั อ�ำนาจเขา้ สศู่ นู ยก์ ลางเท่านนั้ ท้ังน้เี พอื่ ธ�ำรง
อำ� นาจของราชธานใี หส้ ามารถควบคมุ อาณาจกั รทกี่ วา้ งใหญไ่ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ อยา่ งไรกต็ าม การดงึ
หรอื การกระชบั อำ� นาจเขา้ สศู่ นู ยก์ ลางทงั้ ดา้ นการปกครองและการควบคมุ กำ� ลงั คนไมไ่ ดเ้ กดิ ขน้ึ พรอ้ มๆ กบั
การกอ่ ต้งั อาณาจักร หากแตค่ ่อยๆ ววิ ฒั น์จากการกระจายอ�ำนาจจนมาเปน็ การดงึ อ�ำนาจเขา้ สศู่ นู ย์กลาง
ในสมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991–2031) และสมเด็จพระรามาธิบดที ี่ 2 (พ.ศ. 2034–2072)
เร่ืองท่ี 4.2.1
สถาบันพระมหากษัตริย์
อาณาจักรอยุธยาปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในระบอบน้ี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ผนู้ ำ� สงู สดุ ของอาณาจกั ร และทรงไวซ้ ง่ึ พระราชอำ� นาจอยา่ งเดด็ ขาดในการปกครอง
ท้ังในยามสงบและยามสงคราม ด้วยเหตุน้ี สถาบันพระมหากษัตริย์จึงเป็นหลักส�ำคัญในการปกครอง
อาณาจักร เป็นท่ีรวมและที่มาแห่งอ�ำนาจ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นเนื้อหา
สาระของรัฐ รฐั และพระมหากษตั ริย์มีความแนบเน่อื งเป็นอันหนึ่งอันเดียวกนั ไม่อาจแยกออกจากกันได้
ในด้านแนวคิดท่ีมีอิทธิพลต่อสถาบันพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยานั้น แนวคิดเด่นที่มักได้รับการ
กลา่ วถงึ และอยใู่ นหว้ งนกึ คดิ ของผคู้ นโดยทวั่ ไปคอื คตเิ ทวราชา ทไ่ี ดร้ บั จากศาสนาพราหมณ์ คตคิ วามเชอ่ื นี้
เห็นเด่นชัดในสถาบันพระมหากษัตริย์อยุธยาหลังแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเป็นต้นมา ส่วนใน
ระยะแรกก่อต้ังอาณาจักรนนั้ สถาบันพระมหากษตั รยิ อ์ ยธุ ยาดจู ะผูกพันอย่กู บั คติความเชื่อในพทุ ธศาสนา
มากกว่า
ตามคติพุทธศาสนา สถาบันการเมืองการปกครองเริ่มแรกเกิดข้ึนจากความเส่ือมของมนุษย์ ซึ่ง
เกิดความโลภ โกรธ หลง ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถอย่รู ่วมกนั ไดอ้ ย่างสันติ มีการทะเลาะวิวาท ลักขโมย แยง่ ชิง
ทรพั ยส์ ิน และทำ� ร้ายรา่ งกายกนั จงึ เป็นเหตุใหจ้ ำ� เป็นตอ้ งเลือกบุคคลทีม่ คี วามสามารถเหนือกว่าผู้อืน่ ข้ึน