Page 40 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 40

4-30 ประวตั ศิ าสตร์ไทย
       ในด้านผลของการปฏิรูปการปกครองน้ัน การปฏิรูปคร้ังนี้ได้ก่อให้เกิดผลที่ส�ำคัญยิ่งต่อการเมือง

การปกครองในสมัยอยุธยาตอนต้น 2 ประการ คือ ราชธานีหรือศูนย์กลางมีอ�ำนาจในการปกครอง
หัวเมืองต่างๆ เพ่ิมมากข้ึน และท�ำให้เกิดระบบราชการที่มีขุนนางศักดินาเป็นตัวจักรกลของระบบ

       อยุธยาประสบความส�ำเร็จในการกระชับดึงอ�ำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางโดยใช้มาตรการต่างๆ หลาย
ประการ อาทิ การใชก้ ำ� ลงั ทางทหาร การคมุ อำ� นาจทางเศรษฐกจิ ของหวั เมอื งตา่ งๆ การตง้ั ขนุ นางตำ� แหนง่
ยกกระบัตรเพ่ือสอดส่องการปฏิบัติราชการของเจ้าเมือง และการออกกฎหมายควบคุมพฤติกรรมของ
เจา้ เมอื งอยา่ งเข้มงวด

       ส่วนระบบราชการท่ีมีขุนนางศักดินาเป็นตัวจักรกลของระบบนั้นเกิดขึ้นเนื่องจากรูปแบบการ
ปกครองที่จัดข้ึนใหม่น้ใี ชข้ นุ นางเป็นตวั หลกั ในการบรหิ ารงาน ด้วยเหตุนีต้ ำ� แหน่งต่างๆ ของพวกขุนนาง
ทง้ั ในราชธานแี ละหวั เมอื งจงึ ไดร้ บั การจดั วางระเบยี บเพอื่ ประโยชนใ์ นการบรหิ ารงานราชการ ดงั จะเหน็ ได้
จากพระไอยการต�ำแหน่งนาพลเรือนนาทหารหัวเมือง ซึ่งเป็นกฎหมายท่ีบัญญัติขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.
1998 ท�ำเนียบขุนนางทจี่ ัดทำ� ข้นึ นไี้ ดร้ ะบุรายละเอยี ดเกยี่ วกบั ยศ ราชทินนาม ต�ำแหน่ง และศักดินาของ
ขนุ นาง นบั ตงั้ แตข่ ุนนางระดับสูงลดหลัน่ กนั ลงมาจนถงึ ขนุ นางระดับลา่ งไวอ้ ยา่ งครบถว้ น

       ภายใต้รูปแบบการปกครองท่ีจัดขึ้นใหม่ซึ่งมีขุนนางศักดินาเป็นตัวจักรกลในการบริหารงานนั้น
พระมหากษตั รยิ ย์ งั ทรงไวซ้ ง่ึ พระราชอำ� นาจในการพระราชทานยศฐาบรรดาศกั ดแ์ิ กพ่ วกขนุ นาง ทรงเลอ่ื นยศ
เลอ่ื นตำ� แหนง่ และเพมิ่ ศกั ดนิ าแกข่ นุ นางทก่ี ระทำ� ความดคี วามชอบ ในขณะเดยี วกนั กท็ รงลดขน้ั ลดศกั ดนิ า
ของขุนนางผู้กระท�ำความผิด การสร้างระบบขุนนางศักดินาท�ำให้พวกขุนนางต้องมุ่งความสนใจไปอยู่ท่ี
องค์พระมหากษัตริย์ในฐานะศูนย์กลางแห่งอ�ำนาจ เป็นเจ้าชีวิตที่จะก�ำหนดอนาคตของพวกตน จึงเป็น
ระบบทีใ่ ช้ในการสรา้ งความจงรกั ภักดตี ่อองค์พระมหากษัตริย์โดยตรง18

       ระบบราชการทเี่ กดิ ขน้ึ หลงั การปฏริ ปู การปกครองครง้ั นอ้ี าศยั ระบบไพรเ่ ปน็ พนื้ ฐานในการบรหิ ารงาน
และมลี กั ษณะสำ� คญั คอื ยงั ไมม่ กี ารจำ� แนกความรคู้ วามชำ� นาญเฉพาะทาง ไมเ่ หมอื นระบบราชการสมยั ใหม่
ซึ่งเกิดขึ้นหลังการปฏิรูปการปกครองของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่เน้นความรู้
ความช�ำนาญเฉพาะสาชาวิชา ความรู้ที่จ�ำเป็นส�ำหรับพวกขุนนางในสมัยอยุธยาคือ ความรู้เกี่ยวกับ
ขนบธรรมเนยี มประเพณีและจารีตการปกครองท่ีใช้สืบต่อๆ กันมา ความรู้เหล่านี้พวกขุนนางได้รับการ
ฝึกอบรมจากบรรพบุรุษในตระกูล ตลอดจนเรียนรู้จากประสบการณ์ในการท�ำงาน แม้ว่าต�ำแหน่งขุนนาง
สมัยอยุธยาจะไม่มีการสืบสกุล เป็นเพียงต�ำแหน่งเฉพาะตัว แต่ผู้ท่ีจะเข้ามาอยู่ในราชการได้ส่วนใหญ่มี
เพยี งบตุ รหลานของพวกขุนนางเทา่ น้ัน

       กลา่ วไดว้ า่ การปฏริ ปู การปกครองในสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถท�ำใหช้ นชน้ั ขนุ นางมอี ำ� นาจ
ทางการเมืองเพ่ิมมากขึ้น ขณะท่ีพวกเจ้านายซึ่งเป็นกลุ่มที่มีอ�ำนาจมากในระยะแรกก่อต้ังอาณาจักรกลับ
ถกู ลดอำ� นาจลง อำ� นาจ อภสิ ทิ ธ์ิ และเกยี รตยิ ศของพวกขนุ นางไดม้ าเพราะการดำ� รงตำ� แหนง่ หนา้ ทรี่ าชการ
เมอื่ ออกจากต�ำแหนง่ กจ็ ะหมดทั้งอำ� นาจ อภสิ ทิ ธิ์ และเกียรตยิ ศ จึงไมม่ ขี นุ นางคนใดต้องการจะออกจาก

         18 ศรีศักร วัลลิโภดม. (2527). กรุงศรีอยุธยาของเรา. กรุงเทพฯ: ธนาคารกรุงศรีอยุธยาจ�ำกัดจัดพิมพ์ ในวาระที่เปิด
ดำ� เนนิ การมาครบ 40 ปี ธนั วาคม 2527. น. 53.
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45