Page 58 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 58

9-48 ความรู้เบ้อื งตน้ การส่อื สารชมุ ชน
สมาชิกของชุมชนท้ังหญิงและชายได้อย่างเต็มท่ี ซึ่งการเตรียมตัวดังกล่าวต้องอาศัยการส่ือสารในการ
แสวงหาความรู้และทักษะต่าง ๆ อย่างต่อเน่ือง จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องเสริมพลังอ�ำนาจให้แก่ผู้หญิง
โดยเฉพาะในกระบวนการตดั สินใจ

       อยา่ งไรกด็ ผี หู้ ญงิ นน้ั ยงั คงมสี ถานภาพทเี่ ปน็ “ผมู้ าทหี ลงั ” (late comer) ในแงก่ ารปกครองทอ้ งถนิ่
กล่าวคือ ผู้หญิงก้าวเข้ามาเป็นผู้น�ำการปกครองท้องถ่ินในต�ำแหน่งต่างๆ ช้ากว่าผู้ชาย ดังนั้นถึงแม้ว่า
ประชากรหญงิ จะมมี ากกวา่ ประชากรทผี่ ชู้ าย แตส่ ดั สว่ นผหู้ ญงิ ทเ่ี ปน็ ผนู้ ำ� การปกครองทอ้ งถนิ่ กลบั มจี ำ� นวน
นอ้ ยกว่าผชู้ ายมาก อกี ทัง้ การส่อื สารยังเปน็ เครอื่ งมอื และกลไกสำ� หรับการก้าวเขา้ ส่ตู ำ� แหนง่ การปกครอง
ดงั กลา่ ว และเปน็ กลไกในการรกั ษาอำ� นาจนนั้ เอาไว้ แมแ้ ตผ่ หู้ ญงิ ทวั่ ไปการสอ่ื สารกย็ งั เปน็ ชอ่ งทางในการ
เข้าถงึ ทรัพยากรที่เป็นผลประโยชนส์ าธารณะสำ� หรับผหู้ ญงิ เอง

        ผลการศึกษาของ อ้อมทิพย์ และคณะ พบว่า การสื่อสารมีบทบาทในการเสริมพลังความ
เข้มแข็งของผู้หญิงทั้งในฐานะผู้น�ำหญิง และกลุ่มพลังทางการเมืองในการปกครองท้องถิ่น 13 บทบาท
แบง่ ออกตามความยากงา่ ยของบทบาททส่ี ามารถแสดงออกเปน็ 3 กลมุ่ คอื 1) บทบาททแ่ี สดงไดง้ า่ ยทสี่ ดุ
ได้แก่ บทบาทในการเป็นช่องทางถ่ายทอดข่าวสารให้ประชาชนได้รับรู้ และเป็นช่องทางการรับรู้ข่าวสาร
2) บทบาทการสือ่ สารทแ่ี สดงไดใ้ นระดบั ปานกลาง ได้แก่ การกลั่นกรองข้อมลู ขา่ วสาร เป็นตัวสรา้ งรอย
เชอ่ื มตอ่ การส่ือสารในแนวนอน ชว่ ยในกระบวนการตัดสนิ ใจ เป็นกลไกเรง่ กระบวนการพบปะแสดงความ
คดิ เห็น และ 3) เป็นบทบาททีแ่ สดงไดย้ าก ไดแ้ ก่ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการสรา้ งความโปร่งใส เป็นเวทีสอ่ื สาร
ความคิด สร้างการมีส่วนร่วม การแก้ปัญหาความขัดแย้ง เป็นปากเป็นเสียงให้กับกลุ่มต่างๆ และผู้ด้อย
โอกาส รวบรวมความคิดเห็นตามความตอ้ งการของประชาชนและการบรหิ ารความขัดแย้ง

       บทบาทการสอ่ื สารทงั้ 13 บทบาทนี้ สามารถเสริมความเข้มแข็งให้แก่ผู้หญิงไดใ้ น 3 มติ ิ คอื มติ ิ
แรก เปน็ การชว่ ยสง่ เสรมิ เขยี้ วเลบ็ ทางปญั ญาใหแ้ กผ่ หู้ ญงิ กลา่ วคอื เสรมิ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์
และการตัดสินใจ มิตทิ ี่สอง คือ การส่ือสารจะช่วยสร้างพื้นที่ในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน เชน่
เมอ่ื ผู้หญิงมีความรู้ว่า อ�ำนาจหนา้ ท่ขี อง อบต. มีอะไรบ้าง เม่ือมปี ระชุม อบต. ผหู้ ญิงกส็ ามารถสรา้ งเวที
ให้ตนเองได้ ร่วมแสดงความคิดเห็นได้ มิติที่สาม คือ การสื่อสารเป็นตัวเพ่ิมช่องทางในการเข้าถึง
ทรัพยากร เช่น การรวู้ า่ งบประมาณของ อบต. จะนำ� ไปใช้พฒั นากจิ กรรมของกลมุ่ แมบ่ ้านไดอ้ ยา่ งไรบ้าง

       อยา่ งไรกต็ าม กาญจนา แก้วเทพ (2549: 80) ได้ตั้งข้อสังเกตว่า ผลการวิจัยน้ยี ังแสดงให้เหน็ ถงึ
สิทธิที่จะเป็นผู้รับสารหรือผู้ส่งสารท่ีสมบูรณ์น้ัน ยังคงจ�ำกัดอยู่ในกลุ่มผู้น�ำสตรีเท่านั้น และยังไม่ไหล
ลงสู่บรรดาผหู้ ญงิ ทัว่ ไป โดยเฉพาะผู้หญิงท่ีไม่ไดเ้ ข้ามารวมตัวเปน็ กลมุ่ ต่างๆ ในหม่บู า้ น เชน่ เดียวกนั กับ
ผลการศึกษาของ วิษณุ (อ้างแล้ว: 234-236) ที่พบว่า สถานภาพผู้หญิงและแกนน�ำที่มีบทบาทในการ
เคลื่อนไหวป่าชุมชนน้ัน ไม่ได้หมายความว่า ผู้หญิงบ้านทุ่งยาวทุกคนจะสามารถน�ำการเคล่ือนไหวได้
เหมอื นกนั เนอ่ื งจากความเปน็ ผหู้ ญงิ มสี ถานภาพทแี่ ตกตา่ งกนั ตามอายุ ชนชนั้ สถานภาพการสมรส และ
เครือญาติ ซ่ึงวิษณุเห็นว่าสถานภาพท่ีแตกต่างดังกล่าวของผู้หญิง มีส่วนในการก�ำหนดบทบาทการน�ำท่ี
ผหู้ ญิงและคนในชุมชนให้การยอมรับ

       ผู้น�ำผู้หญงิ ในชมุ ชนบา้ นทุ่งยาวมกั มาจากเครือญาติ หรอื สายตระกูลทเี่ ปน็ ผูบ้ กุ เบกิ พน้ื ที่หรือเขา้
มากอ่ ตงั้ หมบู่ า้ นตง้ั แตแ่ รก และมบี ทบาทในการครอบครอง จดั สรรทรพั ยากรนำ�้ และทด่ี นิ ในชมุ ชน เนอ่ื งจาก
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63