Page 56 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 56

9-46 ความรู้เบอ้ื งตน้ การสือ่ สารชมุ ชน
            ในการพัฒนาชุมชนชว่ งแรกๆ ผหู้ ญงิ มักจะถูกกดี กันออกจากวงการพฒั นา โดยเฉพาะการ

จัดการป่าชุมชน ซึ่งบทบาทในการจัดการป่าชุมชนมักจะตกเป็นของผู้ชาย ดังนั้นเม่ือองค์กรภาครัฐน�ำ
โครงการไปพฒั นาปา่ ชมุ ชน ผหู้ ญงิ จงึ ไมไ่ ดร้ บั การพดู ถงึ ทง้ั ๆ ทเี่ ปน็ หนงึ่ ในผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี กบั ปา่ ชมุ ชน
ดงั ผลการวิจัยเรือ่ ง “สตรีอสี านกับการจดั การทรพั ยากรนำ�้ ” (ทองทพิ ย์ สุนทรชยั และคณะ, 2538) กรณี
ศึกษาบ้านผือ ต�ำบลพระลับ อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ท่ีพบว่า ผู้หญิงจะมีหน้าท่ีรับฟังนโยบาย
การจัดการทรัพยากรน�้ำจากผู้ชายท่ีเป็นผู้น�ำหมู่บ้าน หรือหัวหน้าครอบครัว มากกว่าที่จะเข้าไปเป็น
ผเู้ คลอ่ื นไหว ผหู้ ญงิ มหี นา้ ทร่ี บั นโยบายจากสามี และมบี ทบาทเปน็ ผสู้ นบั สนนุ กจิ กรรมการจดั การปา่ ชมุ ชน
และทรัพยากรน�้ำ เช่น จดั เตรยี มอาหารในวันประชุม เท่าน้ัน

            เนตรดาว แพทยกุล (อ้างแลว้ : 58-59) วจิ ารณถ์ งึ การพฒั นาชมุ ชนแบบมสี ่วนร่วมในระยะ
แรกว่า แม้หลักการพ้ืนฐานของการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมจะมุ่งปรับเปลี่ยนบทบาทของชาวบ้านจากการ
เปน็ “ผถู้ กู พฒั นา” มาเปน็ “ผพู้ ฒั นา” แต่ในทางปฏิบตั ิ การพฒั นาแบบมีสว่ นรว่ มยังคงเน้นบทบาทของ
ผู้น�ำเหนือกว่าสมาชิกในชุมชน ซ่ึงส่วนใหญ่แล้วผู้น�ำมักจะเป็นผู้ชาย ท�ำให้ผู้ชายมีบทบาทในการพัฒนา
ในขณะท่ีผู้หญงิ กลบั ยังคงมีบทบาทเพียง “ผถู้ กู พฒั นา” เท่าเดมิ

            3.1.2	 การสื่อสารจากล่างขึ้นบน (bottom-up communication) หมายถงึ การสง่ สารจาก
ผสู้ ่งสารที่อยูใ่ นระดบั หรอื ตำ� แหน่งทต่ี ำ�่ กว่าข้นึ ไปสูผ่ ้รู บั สารท่อี ยู่ในระดบั หรอื ต�ำแหน่งทสี่ งู กวา่ การสือ่ สาร
รปู แบบนจ้ี ะอยใู่ นลกั ษณะของการประชมุ ปรกึ ษาหารอื การสมั มนา เป็นต้น ทั้งนีจ้ ะกอ่ ให้เกดิ การพัฒนา
ศักยภาพของบุคคล เสริมสรา้ งให้มีความคิดสร้างสรรค์

            หากเราใชท้ ศั นะทม่ี องวา่ ผหู้ ญงิ เปน็ ผมู้ อี ำ� นาจนอ้ ยกวา่ ผชู้ าย โดยเฉพาะเรอ่ื งการจดั การเรอ่ื ง
ทรพั ยากรในทอ้ งถน่ิ ทสี่ ว่ นใหญม่ กั จะพบวา่ ผชู้ ายมบี ทบาทในการจดั การทรพั ยากรทงั้ ๆ ทผ่ี หู้ ญงิ เปน็ กลมุ่
ท่ีมีความเก่ียวข้องกับทรัพยากรมากกว่าอันเน่ืองมาจากบทบาทหน้าที่แม่บ้าน เช่น ใช้น้�ำในการซักผ้า
ทำ� ความสะอาดบา้ น ประกอบอาหาร อยา่ งไรกต็ ามในกรณศี กึ ษาการบรหิ ารจดั การนำ้� ของบา้ นทา่ มะปรางค์
ตำ� บลหมูสี อ�ำเภอปากชอ่ ง จังหวดั นครราชสีมา ของ ทองทิพย์ สนุ ทรชยั และคณะ (อ้างแลว้ ) พบว่า ใน
สภาวะท่ีปริมาณน�้ำในแหล่งน้�ำของหมู่บ้านอยู่ในระดับวิกฤติ ผู้หญิงจะปรับเปล่ียนลักษณะการส่ือสาร
เป็นการสื่อสารเชิงรุก กล่าวคือ กลุ่มแม่บ้านจะรวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการเพื่อบริหารจัดการข้ึนเอง
แลว้ ไปแจง้ สถานการณน์ ้�ำตอ่ ผนู้ ำ� หมบู่ า้ น อกี ทงั้ ยงั เสนอแนะวธิ กี ารในการจดั การทรพั ยากรน�้ำอกี ดว้ ย ขณะ
ท่ีในเวลาที่สถานการณ์น้�ำอยู่ในภาวะปกติ การส่ือสารของกลุ่มผู้หญิงหรือแม่บ้านส่วนใหญ่มีลักษณะจาก
บนลงล่างและการสือ่ สารตามแนวราบ (รายละเอยี ดจะได้กลา่ วถึงตอ่ ไป)

            3.1.3	 การส่ือสารตามแนวราบ (horizontal communication) หมายถงึ การตดิ ตอ่ สอื่ สาร
ระหวา่ งผู้ทมี่ รี ะดับหรอื ต�ำแหน่งทีเ่ สมอกนั หรือใกลเ้ คยี งกนั โดยอาศัยความสัมพนั ธส์ ว่ นตัว เชน่ เพอ่ื นฝงู
ญาตพิ น่ี อ้ ง การสอื่ สารรปู แบบนจี้ ะชว่ ยสง่ เสรมิ ความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ของกลมุ่ หรอื ชมุ ชน กอ่ ใหเ้ กดิ ความ
สัมพันธ์ท่ีใกล้ชิด และเป็นการสื่อสารรูปแบบหนึ่งท่ีส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชน ซ่ึง
ผู้หญงิ มักจะนิยมใชก้ ารสือ่ สารในรปู แบบน้ี

       ในงานวจิ ยั ของ ทองทิพย์ สนุ ทรชัย และคณะ (อ้างแล้ว) พบวา่ บทบาทของผหู้ ญงิ ท่เี กย่ี วข้อง
กบั การจดั การทรพั ยากรในชมุ ชน สว่ นใหญจ่ ะอยใู่ นลกั ษณะทเี่ ปน็ “ผสู้ นบั สนนุ ” มากกวา่ เปน็ “ผจู้ ดั การ”
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61