Page 55 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 55
การสื่อสารชุมชนกบั การพัฒนาสตรใี นชุมชน 9-45
ผวู้ จิ ยั วเิ คราะหว์ า่ การสรา้ งบรรยากาศทเี่ ปน็ กนั เองเชน่ นท้ี ำ� ใหผ้ ชู้ มไดร้ สู้ กึ เหมอื นวา่ ตนเองไดเ้ ขา้
มาอยู่ในวงสนทนากับพิธีกร และย่ิงรายการที่มีพิธีกรรายการหลายๆ คนด้วยแล้ว ยิ่งท�ำให้ผู้ชมมีความ
รูส้ กึ วา่ มีส่วนรว่ มในการพูดคยุ ดังกล่าวด้วย อาจกลา่ วไดว้ า่ รายการเล่าขา่ วแบบไมเ่ ปน็ ทางการนีเ้ ปน็ แบบ
จ�ำลองของวงสนทนาของแม่บ้านท่เี ราพบเห็นอย่ใู นชวี ิตประจำ� วัน ผชู้ มสามารถโตต้ อบเสนอความคิดเหน็
ต้งั คำ� ถามได้ในลักษณะผูฟ้ ังทีก่ ระตือรือร้น (active audience) และมีส่วนร่วม (participation) ไดอ้ ยา่ ง
เต็มที่ จงึ ทำ� ใหผ้ ้ชู มรู้สึกว่าตนเองเปน็ ผูท้ ีอ่ ยูใ่ นเหตุการณน์ ้ัน (imagined receiver)
นอกจากน้ีบรรยากาศที่จัดส่วนใหญ่ จะเป็นการจ�ำลองห้องส่งให้เหมือนกับชุดรับแขกท่ีคล้ายกับ
เหตุการณ์สนทนาประจ�ำวนั เพ่ือให้ผู้ชมรูส้ ึกวา่ ตนเองได้เข้าไปนั่งอยู่ในชดุ รบั แขกชดุ เดยี วกนั น้ันด้วย อกี
ทั้งรูปแบบรายการแบบนี้ท�ำให้แม่บ้านที่บริโภครู้สึกสนุก เข้าใจง่าย เนื่องจากพิธีกรจะปูพ้ืนถึงเร่ืองราวที่
เกย่ี วกบั ขา่ วใหผ้ ชู้ มไดร้ เู้ พอื่ ใหผ้ ชู้ มตดิ ตามขา่ วไดง้ า่ ยขนึ้ ดว้ ย ดงั นน้ั แมบ่ า้ นจงึ นยิ มบรโิ ภครายการเลา่ ขา่ ว
แบบไม่เปน็ ทางการมากกว่ารายการเลา่ แบบเปน็ ทางการ
เช่นเดียวกับการสร้างศักยภาพในการพัฒนาให้กับผู้หญิง วิธีการและรูปแบบการส่ือสารแบบ
ไมเ่ ปน็ ทางการดเู หมอื นจะเปน็ วธิ กี ารสอื่ สารทเ่ี หมาะสมเพอื่ ถา่ ยทอดความรใู้ หก้ บั ผหู้ ญงิ ดงั จะเหน็ ไดจ้ าก
งานวิจยั ของเสาวดี ศรีฟ้า (2550: 116) ทีพ่ บวา่ ในการจัดกิจกรรมการปรบั ปรงุ ผลติ ภัณฑท์ ค่ี ณะผู้วจิ ัยจัด
ให้กลุ่มแม่บ้านน้ัน ผู้วิจัยได้เชิญวิทยากรจากสถาบันการศึกษามาให้ความรู้ ซึ่งท�ำการสื่อสารด้วยภาษา
วชิ าการทำ� ใหก้ ลมุ่ แมบ่ า้ นเกษตรกรไมก่ ระตอื รอื รน้ และเกดิ ความเบอ่ื แตเ่ มอื่ ใหแ้ มบ่ า้ นทดลองปฏบิ ตั จิ รงิ
กล่มุ แม่บ้านกลบั มคี วามสนใจและกระตอื รอื ร้นท่จี ะเรยี นร้มู ากข้นึ ดังนน้ั การสรา้ งองค์ความรู้ตา่ งๆ ใหก้ ับ
กลมุ่ แม่บา้ นเกษตรกร ควรปรับภาษาให้เข้าใจง่าย ไมเ่ ป็นวชิ าการ และรปู แบบการสอื่ สารไมค่ วรเปน็ การ
บรรยายอยา่ งเดยี ว ควรใหก้ ลมุ่ แมบ่ า้ นไดท้ ดลองปฏบิ ตั ดิ ว้ ย เพอ่ื ใหแ้ มบ่ า้ นทเ่ี ปน็ เกษตรกรเขา้ ใจและสนใจ
ได้ง่ายกวา่
3. ลักษณะการไหลเวียนของข่าวสาร
ลกั ษณะการไหลเวยี นของขา่ วสารรปู แบบการสอื่ สารทแ่ี บง่ ตามลกั ษณะการไหลเวยี นของขา่ วสาร
แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 1) การสื่อสารตามแนวดิ่ง และ 2) การสื่อสารตามแนวนอนหรือแนวราบ
(horizontal communication)
3.1 การสื่อสารตามแนวด่ิง (vertical Communication) การส่ือสารตามแนวดิ่งแบ่งออกเป็น
2 ลกั ษณะ คือ
3.1.1 การส่ือสารจากบนลงล่าง (top-down communication) หมายถึง การส่งสารจาก
บุคคลที่มีต�ำแหน่งสูงกว่า ลงมายังผู้รับสารท่ีมีต�ำแหน่งต�่ำกว่า โดยออกมาในรูปของนโยบาย แผนงาน
ประกาศ เป็นต้น การส่ือสารรูปแบบนี้ท�ำให้ผู้รับสารท่ีอยู่ในต�ำแหน่งที่ต�่ำกว่าไม่ได้พัฒนาศักยภาพของ
ตนเอง ขาดความคดิ รเิ ริม่ คอยรับคำ� สั่งอย่เู สมอ หลกี เล่ยี งการตดั สินใจ และไม่กอ่ ให้เกดิ การมสี ว่ นร่วมใน
การพัฒนา ในที่นี้หากมองว่าผู้หญิงมีสถานะทางสังคมที่ต่�ำกว่าผู้ชาย ผู้หญิงจะอยู่ในฐานะของผู้รับสาร
และเป็นผูร้ ับสนองนโยบายของรัฐและผู้นำ�