Page 51 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 51
การส่อื สารชุมชนกับการพฒั นาสตรใี นชุมชน 9-41
เรื่องที่ 9.2.2
รูปแบบการส่ือสารของสตรีในชุมชน
ในเรื่องนี้จะพิจารณารูปแบบการสื่อสารของผู้หญิงในชุมชน โดยรูปแบบการส่ือสาร หมายถึง
วิธีการที่ผู้หญิงในฐานะท่ีเป็นสมาชิกในชุมชนท้ังเป็นชุมชนเชิงพ้ืนที่กายภาพและชุมชนทางจิตใจ ในการ
ตดิ ตอ่ สอื่ สารระหวา่ งกนั เพอ่ื แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ แบง่ ปนั วพิ ากษว์ จิ ารณข์ อ้ มลู ขา่ วสารทงั้ เรอื่ งสว่ นตวั
และการพัฒนาทเี่ กดิ ขึน้ ในชุมชน ในทนี่ จ้ี ะกล่าวถงึ รปู แบบการส่อื สารใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) ทศิ ทาง
การสื่อสาร 2) ลกั ษณะการสอ่ื สาร และ 3) ลักษณะการไหลเวยี นของขา่ วสาร
1. ทิศทางการส่ือสาร
ทศิ ทางการส่อื สารแบ่งออกเปน็ 2 รปู แบบ คอื
1.1 การส่ือสารแบบทางเดียว (one-way communication) หมายถึง การสื่อสารที่ผู้ส่งสาร
ถา่ ยทอดสารไปยงั ผรู้ บั แตเ่ พยี งฝา่ ยเดยี ว มลี กั ษณะเป็นเสน้ ตรง โดยไมเ่ ปดิ โอกาสใหผ้ รู้ ับสารไดซ้ กั ถาม
ข้อสงสัยหรือแสดงความคิดเห็น การสื่อสารแบบทางเดียวน้ีจึงไม่มีปฏิกิริยาย้อนกลับจากผู้รับสาร ท�ำให้
ไมม่ ขี อ้ มลู สะทอ้ นกลบั ของผรู้ บั สาร การสอื่ สารแบบทางเดยี วนจ้ี ะออกมาในรปู แบบของนโยบาย แผน หรอื
ค�ำสั่งท่ีกรรมการหมู่บ้าน กรรมการเครือข่ายในชุมชนรับมาจากองค์กรต่างๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน โดย
ผา่ นสอื่ ในชุมชน เช่น เสยี งตามสาย หอกระจายข่าวในชุมชน ทเี่ สนอขอ้ มูลขา่ วสารไปยงั สมาชิกในชุมชน
แตเ่ พียงฝ่ายเดยี ว
การส่ือสารรูปแบบน้ี ผู้หญิงมักจะมีสถานะเป็นเพียงผู้รับสารที่คอยรับนโยบายจากภาครัฐ หรือ
มติที่ประชุมกรรมการหมู่บ้านมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ีตามวาระต่างๆ โดยท่ีผู้หญิงไม่มีโอกาสในการ
แสดงความคิดเห็น
1.2 การสื่อสารแบบสองทาง (two-way communication) หมายถึง การส่ือสารท่ีผู้ส่งสารส่ง
ขอ้ มลู ขา่ วสารไปยงั ผรู้ บั สารทางหนงึ่ เมอื่ ผรู้ บั สารไดร้ บั ขอ้ มลู แลว้ สง่ สารตอบกลบั มายงั ผสู้ ง่ อกี ทางหนง่ึ จงึ
เปน็ การสอ่ื สารทท่ี ง้ั ผสู้ ง่ และผรู้ บั ตา่ งกส็ ามารถรบั และสง่ ขา่ วสารซง่ึ กนั และกนั มกี ารเปดิ โอกาสใหผ้ รู้ บั สาร
ได้ซักถามข้อข้องใจหรือข้อสงสัยต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันเพื่อสร้างความเข้าใจได้
อยา่ งชดั เจน การสอื่ สารแบบนเ้ี กดิ ขนึ้ เสมอๆ ในชวี ติ ประจำ� ของคนในชมุ ชน ไมว่ า่ จะเปน็ การสอ่ื สารระหวา่ ง
ผู้หญิงกับสมาชิกในชุมชนทั้งที่เป็นผู้หญิงด้วยกันหรือผู้ชายก็ตาม โดยประเด็นการส่ือสารนับตั้งแต่การ
ไต่ถามสารทุกข์สุขดิบ การวิพากษ์วิจารณ์การท�ำงานพัฒนาชุมชนของผู้ชาย ไปจนถึงการเมืองระดับ
ประเทศ
ทั้งน้ีการสื่อสารแบบสองทางมีผลท�ำให้การส่ือสารที่เกิดขึ้นมีประสิทธิภาพมากข้ึน เพราะการให้
ความสำ� คญั ตอ่ การตอบกลบั (feedback) นน้ั เปน็ วิธีการที่ท�ำให้ผู้สง่ สารและผู้รบั สารมคี วามเสมอภาคกัน
ในการตดิ ตอ่ สอ่ื สารโดยไมม่ ฝี า่ ยใดมอี ทิ ธพิ ลเหนอื อกี ฝา่ ยหนงึ่ ซงึ่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ การมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นา
ชุมชนได้เปน็ อยา่ งดี