Page 46 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 46

9-36 ความรูเ้ บอื้ งต้นการส่อื สารชมุ ชน
ไมเ่ พยี งพอต่อการด�ำรงชพี พวกเธอจงึ หาอาชพี เสรมิ ประกอบกับมีโรงงานจักสานเกิดข้ึน ผหู้ ญงิ บางส่วน
จึงเลอื กที่จะทำ� งานเป็นชา่ งฝมี ือจักสานในโรงงานดงั กลา่ ว ซึง่ ทีมผวู้ ิจยั มองวา่ นอกจากพวกเธอจะจักสาน
งานไมไ้ ผเ่ พอ่ื หารายไดเ้ ลยี้ งชพี แลว้ ผหู้ ญงิ กลมุ่ นยี้ งั ไดร้ ว่ มกนั สรา้ งกลมุ่ การสอื่ สารเพอื่ สรา้ งเครอื ขา่ ยทาง
สงั คมขนึ้ มาในเวลาเดียวกัน

       ในงานวิจัยของวิษณุ ยังพบว่า ศูนย์ถ่ายทอดความรู้แม่บ้านเป็นสถานที่ท่ีผู้หญิงในชุมชนจะใช้
พบปะอยา่ งเปน็ ทางการ แตเ่ ดมิ สถานทน่ี ถี้ กู สรา้ งเปน็ ศนู ยถ์ า่ ยทอดเทคโนโลยชี าวบา้ น ตอ่ มากลมุ่ แมบ่ า้ น
ทงุ่ ยาวได้ท�ำแผนพัฒนาขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทนุ เพื่อสังคม (Social Investment Fund) มา
ปรับปรุงเป็นศูนย์ถ่ายทอดความรู้แม่บ้าน เพื่อเป็นสถานที่ฝึกอบรมและแปรรูปผลผลิตเพ่ือการตลาด
นอกจากนั้นแล้วศูนย์ฯ ดังกล่าวยังเป็นพ้ืนท่ีที่กลุ่มแม่บ้านใช้เพ่ือติดต่อกับหน่วยงานภายนอกด้วย เช่น
เปน็ สถานที่ต้อนรับคณะผ้มู าศกึ ษาดูงาน ซงึ่ ผ้วู ิจัยเหน็ วา่ ศูนยด์ งั กลา่ วทำ� หนา้ ท่ีในการน�ำเสนอภาพความ
เปน็ ผหู้ ญิงในชุมชนนี้ไปพรอ้ มๆ กัน

       เช่นเดียวกันกับในงานวิจัยของ เสาวนีย์ ด�ำนิล (2546: 154) ที่ศึกษาการจัดการกิจการกลุ่ม
แมบ่ า้ นเกษตรกรบ้านรอ่ นพัฒนา ต�ำบลตันหยงมัส อำ� เภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส พบวา่ ส�ำนักงานศูนย์
แม่บ้านเกษตรกรเป็นเหมือนการมีที่ตั้งส�ำนักงานของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ท�ำให้สมาชิกของกลุ่มมีพ้ืนที่
ในการติดตอ่ สือ่ สารเพ่ือทำ� กจิ กรรมกลมุ่ ไดส้ ะดวกย่ิงขนึ้

       5.	 วัด โดยทว่ั ไปแลว้ ศาลาการเปรยี ญของวดั มกั จะถกู ใชเ้ ปน็ ทปี่ ระชมุ สว่ นกลางของหมบู่ า้ น เปน็
ทชี่ ี้แจงโครงการของรัฐ ผูห้ ญิงจะใช้พ้นื ทแ่ี หง่ นใี้ นการทำ� งานของชุมชน แตบ่ ทบาทของผ้หู ญิงในวดั มกั จะ
มลี กั ษณะทคี่ ลา้ ยกบั โยมอปุ ฏั ฐาก กลา่ วคอื ทำ� หนา้ ทใี่ นการหงุ อาหารเวลามงี านบญุ ในงานวจิ ยั ของ วษิ ณุ
นน้ั ผวู้ จิ ยั มองวา่ วดั เปน็ พน้ื ทแี่ บบผชู้ ายนน้ั เปน็ พนื้ ทที่ ผ่ี ชู้ ายเขา้ มากอ่ น ทถ่ี งึ แมจ้ ะเปน็ พน้ื ทส่ี าธารณะแต่
ก็เป็นพื้นท่ีของพระซ่ึงเป็นผู้ชาย ผู้หญิงไม่สามารถเข้านอกออกในได้ตลอดเวลา อย่างไรก็ดีศาลาวัด
ถกู เปลย่ี นใหเ้ ปน็ สถานทใ่ี นการประชมุ ทมี่ รี ปู แบบทเี่ ปน็ ทางการ กลา่ วคอื ในการประชมุ จะมพี ธิ กี ารประชมุ
แบบราชการ เช่น บอกวาระการประชุม ระบชุ ่อื ผ้สู มควรเขา้ ประชุม มผี ดู้ �ำเนนิ การประชุม ซง่ึ สว่ นมากจะ
เป็นหน้าทข่ี องผ้ชู ายท่ีเปน็ พ่อหลวง จากการศกึ ษาพบว่า ผูห้ ญิงไม่อยากเขา้ รว่ มประชมุ ทศ่ี าลาวดั เพราะ
ผหู้ ญงิ ไมค่ อ่ ยไดร้ บั การยอมรบั และไมม่ อี ำ� นาจในการตดั สนิ ใจ ดงั นน้ั เมอ่ื เลกิ ประชมุ ผหู้ ญงิ มกั จะไปจบั กลมุ่
วจิ ารณผ์ ลการประชุมท่อี ่ืน เนือ่ งจากรู้สึกว่าพ้ืนท่วี ัดในเวลาดงั กล่าวไม่ใชพ่ ้ืนท่ขี องตนเอง

       ขณะที่ สมสขุ หนิ วมิ าน และคณะ มองวา่ “วดั ” เปน็ พนื้ ทสี่ าธารณะสำ� หรบั ทงั้ กจิ กรรมทางศาสนา
และกิจกรรมทางโลก โดยในแง่กิจกรรมทางศาสนาน้ัน วัดเป็นพ้ืนที่ศักดิ์สิทธ์ิท่ีชาวบ้านและพระได้มาลง
รหสั และอัตลกั ษณร์ ่วมกนั ของความเป็นทงุ่ ขวางเอาไว้ เชน่ การใช้วัดเป็นพ้นื ท่ีสื่อสารท่ีสบื ทอดอตั ลกั ษณ์
ผ่านพิธกี รรมดง้ั เดิมของชุมชน เช่น การรดน้�ำมนตพ์ ่นนำ�้ เพ้ยี ง ส่วนในแง่กจิ กรรมทางโลกนั้นนอกจากจะ
เป็นพืน้ ท่สี าธารณะของการพบปะสอื่ สารทางการเมอื ง เชน่ การใชพ้ น้ื ทว่ี ดั เพือ่ จัดประชมุ แกนนำ� ชาวบา้ น
สำ� หรบั พืน้ ทีใ่ นวดั ท่ีผู้หญิงมักจะอยู่รวมกนั ในเวลางานบุญตา่ งๆ คือ โรงครัว เพื่อท�ำหน้าทจ่ี ดั หาอาหารที่
ใช้ในงานบุญ สว่ นผู้หญงิ ท่ีมีอายมุ กั จะอยูก่ ลางศาลาการเปรยี ญ

       6.	 ร้านกาแฟ ประเภทของอาหารเปน็ ตวั แปรสำ� คญั ทจ่ี ะกำ� หนดวา่ พน้ื ทร่ี า้ นอาหารเปน็ พน้ื ทแ่ี บบ
ผู้หญิงหรือผู้ชาย ดังจะเห็นได้จากงานวิจัยเร่ือง รูปแบบการส่ือสารในสภากาแฟของประชาชนในจังหวัด
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51