Page 48 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 48

9-38 ความรู้เบ้อื งต้นการส่ือสารชุมชน
เนอ่ื งจากพน้ื ทดี่ งั กลา่ วเปน็ พนื้ ทแ่ี บบผหู้ ญงิ ทผี่ ู้หญิงสื่อสารได้สะดวกใจจึงท�ำให้กล้าท่ีจะแสดงความคิด
เห็นมากกว่าพ้ืนท่ีท่ีเป็นหอประชุมในสถานท่ีราชการที่มีลักษณะเป็นพ้ืนท่ีของผู้ชาย

       อยา่ งไรกต็ ามงานวจิ ยั ของวษิ ณไุ ดช้ ใ้ี หเ้ หน็ วา่ หากมกี ารขยายพน้ื ทแี่ ละเวลาในการสอื่ สารในกวา้ ง
ขึ้น ผู้หญิงก็จะสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาชุมชนได้มากข้ึน เช่นเดียวกับงานวิจัยของ
เสาวดี ศรฟี ้า (อ้างแลว้ ) ทชี่ ี้ใหเ้ ห็นว่า การเปดิ โอกาสให้กลมุ่ แมบ่ า้ นมีพน้ื ท่ใี นการพบปะพูดคุยกนั ทำ� ให้
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรกล้าท่ีจะแสดงออกทางความคิด การพูด การเขียนมากขึ้น เพราะผู้หญิงจะรู้สึกว่า
เปน็ พนื้ ท่ี เปน็ โอกาสสำ� หรบั ตนเอง ทำ� ใหม้ คี วามมน่ั ใจและไดใ้ ชส้ ทิ ธใ์ิ ชเ้ สยี งในการพฒั นาชมุ ชนไดม้ ากขน้ึ

       ทงั้ นเ้ี นอื่ งจากความสมั พนั ธข์ องผหู้ ญงิ ผชู้ ายในชมุ ชนเปน็ ความสมั พนั ธท์ ผ่ี หู้ ญงิ ถกู แยกแยะวา่ เปน็
แม่บา้ น เมยี หรอื ลกู สะใภ้ ซ่ึงมกั จะถกู คาดหวังให้ผู้หญิงเป็นแม่บา้ น จงึ ไม่ควรออกไปปรากฏตวั ในพ้ืนท่ี
สาธารณะ เม่ือองค์กรพัฒนาเอกชนเข้ามาด�ำเนินงานเครือข่ายการเรียนรู้ป่าชุมชน กิจกรรมที่สมาชิกท�ำ
ร่วมกัน เช่น การอบรมศึกษาดูงาน การขยายเครือข่ายอ�ำเภอ ควรก�ำหนดเวลาและสถานที่ให้เอื้อกับ
ผู้หญิงเพื่อจะได้เข้ามามีส่วนร่วมได้มากที่สุด เช่น การประชุมเครือข่ายฯ ประจ�ำเดือนจะเป็นการประชุม
สญั จรไปตามหมบู่ า้ นสมาชกิ เพอ่ื ใหผ้ หู้ ญงิ และกรรมการเครอื ขา่ ยไดเ้ หน็ สภาพปญั หาของแตล่ ะชมุ ชน และ
ช่วยกระตุ้นการมสี ่วนรว่ มในพฒั นาชมุ ชน

       เสาวดี ศรีฟ้า (2550) และเสาวณยี ์ ด�ำนลิ (อ้างแล้ว) เสนอวา่ นอกจากสรา้ งพนื้ ทใี่ นการติดต่อ
สอ่ื สารและประสานงานของกลมุ่ ผ้หู ญิงในชมุ ชนจะมคี วามสำ� คญั แลว้ การสรา้ งเครือขา่ ยในการพฒั นาร่วม
กบั กลมุ่ อน่ื ๆ ในพนื้ ท่ี จะชว่ ยใหผ้ หู้ ญงิ ไดม้ โี อกาสแลกเปลย่ี นความรู้ ความคดิ และประสบการณก์ ารทำ� งาน
และท�ำให้กลุ่มแม่บ้าน/ ผู้หญิงในชุมชนรู้จักเพ่ือนต่างกลุ่ม มีความสัมพันธ์ท่ีดีกับกลุ่มพัฒนาอื่นๆ รู้
สถานการณ์ต่างๆ และได้ร่วมแลกเปลี่ยน ร่วมกันวางแผนและแก้ปัญหาร่วมกัน เช่น แลกเปล่ียนวิธีการ
จดั การด้านการตลาด เป็นต้น

2. 	ชุมชนทางจิตใจ

       ชมุ ชนทางจิตใจ (imagined community) หมายถึง การรวมตวั กันของผู้คนท่ไี มไ่ ด้อยู่ในพ้นื ท่ี
เดียวกันแต่รวมตัวกันภายใต้สายสัมพันธ์บางอย่าง เช่น รักในนักร้องคนเดียวกัน จึงกลายเป็นกลุ่มแฟน
คลบั เช่น กลมุ่ คนรกั สุนขั ช่อื “กลุ่มเพ่อื ชาตหิ มา” เปน็ ชุมชนคนรกั สนุ ขั ทีใ่ ช้พ้นื ทใ่ี นสอ่ื สงั คมอยา่ งเฟซบุก๊
เป็นส่ือในการระดมความช่วยเหลือสุนัขจรจัด สุนัขท่ีพลัดหลงกับเจ้าของ หรือกลุ่มแฟนคลับ นิติพงษ์
ห่อนาค ช่วยกันบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือสุนัขป่วย และซ้ืออาหารไปบริจาคศูนย์รับเลี้ยงสุนัขจรจัด ใน
โครงการ “ก๊วนช่วยเพ่อื น” หรือกลมุ่ แฟนคลบั เด็กชายสามแฝดลกู ชายของดาราชื่อดงั ชาวเกาหลี ที่สร้าง
สายสัมพันธ์และรวมตัวกันผ่านสื่อเฟซบุ๊กไปท�ำกิจกรรมและบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือเด็กท่ีป่วย ซึ่ง
นักสื่อสารเพ่ือการพัฒนามองว่า หากมีการพัฒนากลุ่มแฟนคลับเหล่านี้ให้ท�ำหน้าท่ีเพื่อสังคม ก็จะกลาย
เปน็ พลงั สำ� คญั ไมต่ า่ งจากชมุ ชน (กาญจนา แกว้ เทพ, 2555) ทงั้ นี้ การรวมกลมุ่ เปน็ ชมุ ชนทางจติ ใจมกั จะ
ใชส้ ่อื ใหมเ่ ปน็ เครอื่ งมือสำ� คญั และในกรณขี องการรวมกล่มุ ของสตรีก็มกั จะใชส้ อื่ ใหม่เชน่ กนั

       ในกรณขี องความพยายามทจี่ ะเปลยี่ นแปลงปญั หาเรอื่ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งหญงิ ชาย รวมทงั้ แง่
มมุ อนื่ ๆ ของปญั หาเพศสภาวะ บทบาทหญงิ ชายโดยการใชส้ อื่ เปน็ เครอ่ื งมอื นน้ั กาญจนา แกว้ เทพ (2554:
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53