Page 49 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 49

การส่ือสารชมุ ชนกบั การพัฒนาสตรใี นชุมชน 9-39
366) เห็นว่า อาจจะมีตัวแปรที่เข้ามาเกี่ยวข้องคือ “ประเภทของสื่อ” ส�ำหรับสื่อมวลชนประเภทต่างๆ
ไม่ว่าจะเป็นหนังสือพิมพ์ วิทยุ หรือโทรทัศน์นั้น มีธรรมชาติเป็นส่ือทางเดียว มีลักษณะทางเศรษฐกิจ
การเมอื งของสอ่ื ทถ่ี า้ ไมใ่ ชร่ ฐั เปน็ เจา้ ของ สอ่ื กถ็ กู ดำ� เนนิ การเพอ่ื ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ อกี ทง้ั สอ่ื มวลชน
ยงั เปน็ พน้ื ทที่ ผ่ี ชู้ ายเปน็ “ผมู้ ากอ่ น” (first comer) ทำ� ใหส้ อ่ื มวลชนจงึ ยงั เปน็ เครอื่ งมอื ทธ่ี ำ� รงรกั ษาความ
ไมเ่ สมอภาคทางเพศเอาไว้ ขณะที่สอื่ ใหม่ (new media) เชน่ โทรศพั ทม์ ือถอื คอมพิวเตอร์ อนิ เทอร์เน็ต
เป็นส่ือท่ีมีคุณลักษณะด้านต่างๆ แตกต่างจากสื่อมวลชน เม่ือเปรียบเทียบแล้วสื่อเหล่าน้ีมีคุณลักษณะที่
แสดงถึง “ความเสมอภาคทางเพศ” มากกว่าส่ือมวลชนแบบเดิม ดังนั้นส่ือใหม่เหล่าน้ีจึงถูกคาดหวังว่า
จะเป็น “ผู้ช่วยชั้นดี” ส�ำหรับกลุ่มสตรีนิยม

       ในงานวิจัยของ ปุญยนุช ยอแสงรัตน์ (2551) ได้สาธิตให้เห็นว่า เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือได้
ทำ� ใหพ้ นื้ ทเี่ ลก็ ๆ หนา้ จอโทรทศั นก์ ลายเปน็ พนื้ ทที่ างจติ ใจ (mental space) ของกลมุ่ ผหู้ ญงิ ในฐานะทเี่ ปน็
ผชู้ มทเ่ี ขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในการสง่ ขอ้ ความสนั้ (SMS) ในรายการเลา่ ขา่ ว ซงึ่ ผวู้ จิ ยั พบวา่ ภายในพน้ื ทเ่ี ลก็ ๆ
เหล่าน้ี ได้เปิดโอกาสให้ “กลุ่มผหู้ ญิง” เขา้ ไปมีสว่ นรว่ มในพนื้ ที่สาธารณะของสังคมในทุกมติ ิ กล่าวคอื ผู้
หญิงเข้าไปมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นทั้งเรื่องเศรษฐกิจระดับประเทศ การเมืองระดับชาติ
วัฒนธรรมระดับโลก ผู้หญิงได้เปลี่ยนสถานะจากผู้ชมเชิงรับ (passive audience) มาเป็นผู้ชมเชิงรุก
(active audience) และก้าวข้ึนสู่การเป็นผู้ส่งสารที่รอบรู้ อันเป็นการเปลี่ยนแปลงอุดมการณ์ทางเพศ
เกี่ยวกบั บทบาทของผหู้ ญิงในกระบวนการสอื่ สาร

       ขอ้ คน้ พบของงานวจิ ยั นยี้ งั พบอกี วา่ การแสดงพลงั ของผชู้ มสตรกี ลมุ่ นจ้ี ะมรี ะดบั มากนอ้ ยแคไ่ หน
ขนึ้ อยกู่ บั ประเภทรายการ กลา่ วคอื หากเปน็ รายการเลา่ ขา่ วทวั่ ไปซง่ึ เปน็ พน้ื ทขี่ องผชู้ าย ผหู้ ญงิ กพ็ ยายาม
ที่จะเลียนแบบการสื่อสารแบบผู้ชาย เช่น ใช้ค�ำสบถ เร่ิมมีการส่ือสารเชิงรุก โดยผู้หญิงจะเร่ิมเป็นผู้เปิด
ประเด็นในการแสดงความคิดเห็น โดยเริ่มน�ำเรื่องใกล้ตัวหรือเร่ืองภายในครอบครัวมาใช้ในการน�ำเสนอ
เช่น ราคาสินค้าท่ีเป็นปัญหา เพื่อแจ้งข้อมูลหรือปัญหาท่ีประสบมาให้สังคมได้รับทราบ ซ่ึงผู้วิจัยเห็นว่า
การสง่ SMS ในลกั ษณะดงั กลา่ วเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ในการสรา้ งอำ� นาจใหก้ บั ผหู้ ญงิ ในพน้ื ทสี่ าธารณะของผชู้ าย
โดยการแสดงคุณค่าความเป็นแม่บ้านให้สังคมรับรู้ อีกทั้งในรายการเล่าข่าวแบบทั่วไป ผู้หญิงได้แสดง
ความคิดเห็นเร่ืองโลกภายนอกเป็นหลัก อันเป็นการลบล้างแนวคิดเดิมที่ว่า พ้ืนท่ีสาธารณะคือพ้ืนท่ีของ
ผชู้ ายเทา่ นนั้ ในขณะทก่ี ารสง่ ขอ้ ความสน้ั ในรายการเลา่ ขา่ วสำ� หรบั ผหู้ ญงิ โดยเฉพาะนน้ั ผหู้ ญงิ ทเี่ ปน็ ผชู้ ม
จะใช้พื้นที่ดังกล่าวเป็นพ้ืนท่ีในการให้ค�ำนิยามใหม่ๆ ท้ังเร่ืองความเป็นหญิงความเป็นชาย ความหมายท่ี
เกยี่ วข้องกับเพศสภาวะ (gender) ซงึ่ ผวู้ จิ ัยมองวา่ เปน็ ปฏิบตั ิการการต่อสู้ทางอดุ มการณโ์ ดยตรง

       นอกจากนี้ยังพบว่า ผลจากการพูดคุยผ่านการส่งข้อความสั้นๆ ดังกล่าวสามารถน�ำไปสู่การจัด
กจิ กรรมเพือ่ สงั คม เชน่ การบรจิ าคกล่องนมที่ใชแ้ ลว้ เพื่อนำ� ไปทำ� โต๊ะ เกา้ อี้ ใหโ้ รงเรียนตามชายแดน ซ่งึ
เปน็ การสรา้ งคุณค่าให้กับผูห้ ญงิ โดยแสดงให้เหน็ วา่ กลุ่มผู้หญงิ สามารถสรา้ งประโยชนใ์ ห้แกส่ งั คมไดเ้ ป็น
อย่างดี หลังจากนั้นยังมีการน�ำเร่ืองงานบ้านงานฝีมือท่ีถูกให้ค่าว่าไร้คุณค่า เช่น การเย็บปักถักร้อย
มาเปลี่ยนให้กลายเป็นพลังของผู้หญิงในการเย็บชุดช้ันในส�ำหรับผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ท้ังนี้ผู้วิจัยมองว่าใน
โลกความเป็นจริงนั้นผู้หญิงถูกมองว่าเป็นผู้ตามและผู้ชายเป็นผู้น�ำ  แต่ในพื้นที่สาธารณะ เช่น SMS
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54