Page 44 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 44

9-34 ความร้เู บ้อื งตน้ การส่ือสารชมุ ชน
การมีส่วนร่วมหรือการเคล่ือนไหวของผู้หญิงมักจะเชื่อมโยงกับพื้นท่ี/ สถานที่ทั้งในชุมชนและนอกชุมชน
พน้ื ทเี่ ปน็ ทแี่ สดงออกถงึ ความเปน็ หญงิ เปน็ ชายทถี่ กู กำ� หนดจากสงั คมในชมุ ชน กาญจนา แกว้ เทพ (2544:
68) อธบิ ายว่า การจัดวางคนแต่ละเพศให้อย่ใู นพน้ื ท่ใี ดนน้ั ไมใ่ ชเ่ รือ่ งทีเ่ กดิ ขนึ้ ตามธรรมชาติ และไมไ่ ดม้ ี
เหตุผลจากการที่เกิดมาเป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย หากแต่การจัดวางนี้เป็นเรื่องของ “วัฒนธรรม” ท่ีแตกต่าง
กนั ไปของแต่ละสงั คม และแต่ละยุคสมัย

       วัฒนธรรมท่ีเกี่ยวกับเวลาและสถานที่น้ัน มีความเกี่ยวข้องกับความเป็นหญิงและความเป็นชาย
อยา่ งมาก เนอ่ื งจากวฒั นธรรมในแตล่ ะสงั คมในแตล่ ะยคุ สมยั จะเปน็ ตวั ก�ำหนดวา่ ผหู้ ญงิ และผชู้ าย ควรจะ/
ต้อง อยู่ทไ่ี หน กบั ใคร ในเวลาใด ท�ำอะไรไดบ้ ้าง เม่ือน�ำแนวคดิ ดังกล่าวมาใชใ้ นการอธบิ ายเรอื่ งพื้นทใี่ น
การสื่อสารของผู้หญิงในชุมชน จึงสามารถแบ่งพื้นที่การสื่อสารในชุมชนท่ีมีมิติเก่ียวกับความเป็นหญิง
และความเป็นชายได้ 2 แบบ คือ พ้ืนที่แบบผู้หญิง และพ้ืนท่ีแบบผู้ชาย

       ในงานวิจัยเร่ือง “การเคล่ือนไหวในพ้ืนท่ีสาธารณะของผู้หญิงในการจัดการป่าชุมชน จังหวัด
ล�ำพูน” ของ วิษณุ สุจินพรหม (อ้างแล้ว) ได้ศึกษาถึงการเคล่ือนไหวของผู้หญิงในการช่วงชิงพ้ืนที่
ป่าชุมชน ซึ่งมักจะไม่ค่อยได้รับการพูดถึง ทั้งน้ีเน่ืองจากความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับป่าถูกน�ำเสนอในมุม
มองของผู้ชาย ที่ปรากฏให้เห็นในความเช่ือ กฎเกณฑ์ประเพณีเก่ียวกับการจัดการป่าชุมชน โดยผู้ชาย
ถือว่าการเคล่ือนไหวในป่าชุมชนเป็นบทบาทหน้าที่ของตนเอง ดังนั้นการช่วงชิงเชิงพื้นที่น้ีจึงเต็มไปด้วย
ความขดั แยง้ ความแตกต่าง และความร่วมมอื ของความสมั พนั ธห์ ญงิ ชายในการจดั การปา่ ชุมชน อยา่ งไร
กต็ ามงานชนิ้ นกี้ แ็ สดงใหเ้ หน็ เอกสารลกั ษณะพเิ ศษของพน้ื ทกี่ ารสอ่ื สารทผ่ี หู้ ญงิ สามารถเขา้ มารว่ มไดอ้ ยา่ งดี

       โดยปกติความสัมพนั ธ์หญิง-ชาย ในชุมชนที่เกยี่ วกบั การจดั การป่าชมุ ชนน้ัน ผหู้ ญงิ ไมไ่ ด้แสดง
ตัวตนของตนเองในสถานทท่ี มี่ ีลักษณะเปน็ ทางการ กล่าวคอื ตามสถานท่ีราชการในชุมชนหรอื นอกพืน้ ที่
ชุมชน ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นพ้ืนที่ในการจัดการประชุม แต่จะปรากฏตัวและมีตัวตนในสถานท่ีที่ผู้วิจัย
เรยี กวา่ เปน็ ท่ี “เรน้ ลบั ” และไมไ่ ดร้ บั ความสนใจจากหนว่ ยงานจากภายนอกชมุ ชน หรอื แมแ้ ตค่ นในชมุ ชน
เอง โดยสถานท่ีที่ผู้หญิงปรากฏตัวจะเป็นพื้นท่ีที่อยู่ในชีวิตประจ�ำวันของผู้หญิง ได้แก่

       1.	 ร้านค้า ในงานวิจยั ของวิษณุ สุจินพรหม (2544) ชใี้ ห้เหน็ ว่าร้านคา้ เป็นสถานทีท่ ่ีสมาชิกใน
ชุมชนโดยเฉพาะผู้หญิงเข้าไปซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคที่จ�ำเป็นต่อครอบครัว อีกท้ังยังเป็นที่พบปะแลก
เปลยี่ นความเห็นของชาวบา้ น ทงั้ นี้ผูว้ จิ ยั วิเคราะหว์ า่ ลกั ษณะของร้านค้า เจ้าของรา้ นและตวั สนิ คา้ เป็นตัว
ก�ำหนดความเป็นหญิงและความเป็นชายของพ้ืนท่ีนั้นๆ ด้วย กล่าวคือ ในร้านค้าที่ขายของช�ำมีเจ้าของ
รา้ นเปน็ ผชู้ าย เปดิ ตง้ั แตเ่ ชา้ จนดกึ ในชว่ งเวลากลางวนั ผหู้ ญงิ จะซอื้ สนิ คา้ และรบี กลบั บา้ น สว่ นในชว่ งเยน็
รา้ นขายของจะกลายสภาพเปน็ พนื้ ทขี่ องผชู้ ายทจี่ ะมานง่ั ดมื่ เหลา้ หลกั เลกิ จากการทำ� สวน หรอื เลกิ งานจาก
นิคมอุตสาหกรรม ดังน้ันพ้ืนท่ีของร้านค้าจะเป็นพ้ืนท่ีของผู้หญิงให้ได้พบปะพูดคุยกันในช่วงกลางวัน ใน
ขณะท่ีชว่ งเวลากลางคืนจะกลายเปน็ พ้ืนทข่ี องผ้ชู ายซ่ึงผ้หู ญิงจะไมเ่ ข้าไปนัง่ ในร้านในเวลาดังกลา่ ว

       เชน่ เดียวกับงานวิจัยของ นันทกา สธุ รรมประเสริฐ (2549) ก็พบวา่ พ้ืนที่การสอื่ สารของแมบ่ ้าน
ในชมุ ชนนน้ั ไมไ่ ดจ้ ำ� กดั เฉพาะพนื้ ทใี่ นบา้ นเทา่ นนั้ หากแตพ่ บวา่ ในพนื้ ทเ่ี ชงิ เศรษฐกจิ อยา่ งรา้ นขายกบั ขา้ ว
เคลื่อนท่ีก็เป็นพ้ืนท่ีหน่ึงท่ีผู้หญิงในชุมชนจะได้พบปะและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร วิพากษ์วิจารณ์ข่าวที่
ตนเองไดอ้ า่ นหรอื ดจู ากรายการขา่ วทางโทรทศั น์ และไตถ่ ามสารทกุ ขใ์ นชวี ติ ประจำ� วนั ของตนเอง อยา่ งไร
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49